แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา [2020/08/25 09:19]
dhamma
แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา (ม.ค.2563) | คำตอบโทร O8O5988645 เพจตอบปัญหาธรรมะลึกซึ้ง                                 +https://​docs.google.com/​document/​d/​1J7kSECk0kJMV6jLJIO1vYQXSXfrfDTlmqvoiD13fkks/edit#
- +
-แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา +
- +
-แบบทดสอบที่จะทำให้ทุกสำนักเข้าใจความคิดของกันและกันอย่างมีหลักฐานและหลักการ +
- +
-คำตอบและหลักฐานมีพร้อมแล้ว อยู่ในระหว่างเรียบเรียงให้กระทบกระทั่งจิตของผู้อ่านน้อยที่สุดเพราะทำขึ้นเพื่อความสามััคคี +
- +
-[[#​h.b9ap5ey9ga20|รายชื่อผู้ผ่านบางส่วนของบททดสอบ (27 มิ.ย. 2562)]]        [[#​h.b9ap5ey9ga20|1]] +
- +
-[[#​h.gvpkbkigzbc4|ประวัติศาสตร์ไทยเสียระบบเรียนไป 100-200 ปี ใช่ไหม?​]]        [[#​h.gvpkbkigzbc4|2]] +
- +
-[[#​h.hn0838x3a3fa|ปฏิสัมภิทามรรค]]        [[#​h.hn0838x3a3fa|2]] +
- +
-[[#​h.h2t8tji7ehpm|เนตติปกรณ์]]        [[#​h.h2t8tji7ehpm|5]] +
- +
-[[#​h.rc0ksn5moskw|มหาสติปัฏฐานสูตร]]        [[#​h.rc0ksn5moskw|6]] +
- +
-[[#​h.5t1gpixe6ta2|ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร]]        [[#​h.5t1gpixe6ta2|12]] +
- +
-[[#​h.ujnaqndrbiar|อายุพระศาสนา]]        [[#​h.ujnaqndrbiar|12]] +
- +
-[[#​h.etj76gi33w0z|กลาปะและบัญญัติ]]        [[#​h.etj76gi33w0z|13]] +
- +
-[[#​h.asve1a1917n8|อะไรคือทิฏฐิ]]        [[#​h.asve1a1917n8|13]] +
- +
-[[#​h.anu6t6783r8w|ทำไมศาสนาพุทธไทยเสื่อมกว่าพม่า]]        [[#​h.anu6t6783r8w|15]] +
- +
-[[#​h.ua28dr6igs2t|ประวัติศาสตร์ศาสนายุคปัจจุบัน]]        [[#​h.ua28dr6igs2t|15]] +
- +
-[[#​h.5c8gi9ndwzol|ท่องจำอะไรก่อนหลัง?​]]        [[#​h.5c8gi9ndwzol|17]] +
- +
-[[#​h.yv5gbazw3sa|ศีล]]        [[#​h.yv5gbazw3sa|19]] +
- +
-[[#​h.8pbhn42c7yi5|ศัพท์ควรรู้]]        [[#​h.8pbhn42c7yi5|20]] +
- +
-[[#​h.fupshzgu69uq|สุตมยปญฺญา]]        [[#​h.fupshzgu69uq|20]] +
- +
-[[#​h.ug3ulealwnp|สีลวิสุทฺธิ]]        [[#​h.ug3ulealwnp|20]] +
- +
-[[#​h.w49c2ws89c06|จิตฺตวิสุทฺธิ]]        [[#​h.w49c2ws89c06|20]] +
- +
-[[#​h.n091ik9b3ux6|ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ]]        [[#​h.n091ik9b3ux6|20]] +
- +
-[[#​h.1shm2mtms51o|กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ]]        [[#​h.1shm2mtms51o|20]] +
- +
-[[#​h.jmlzoi1375lj|กลาปสมฺมสนญาณ]]        [[#​h.jmlzoi1375lj|21]] +
- +
-[[#​h.2tkmbk9egwe9|มคฺคามคฺคญาณทสฺสนวิสุทฺธิ]]        [[#​h.2tkmbk9egwe9|21]] +
- +
-[[#​h.1dh8zuhb05ao|ปฏิปทาญาณทสฺสนวิสุทฺธิ]]        [[#​h.1dh8zuhb05ao|21]] +
- +
-[[#​h.hu492wb54s03|ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ]]        [[#​h.hu492wb54s03|21]] +
- +
----- +
- +
-====== ​ ============ รายชื่อผู้ผ่านบางส่วนของบททดสอบ (27 มิ.ย. 2562) ====== +
- +
-หากต้องการคำตอบ ท่านสามารถสอบถามท่านเหล่านี้ได้โดยตรง อย่าให้พยัญชนะตกหล่น +
- +
-  * พ.อ.อาจิณณะ        อาจารย์กรรมฐานพาอ้าว +
- +
-  * ตอบข้อสภาวธรรมปรากฎได้ตรงตามวิสุทธิมรรค +
- +
-  * พ.อ.เรวตะ         อาจารย์กรรมฐานพาอ้าว +
- +
-  * ตอบมหาสติปัฏฐานสูตรข้อสำคัญๆ ได้ตรงตามหลักบาลี +
-  * ตอบข้อวิธีใช้วิภังค์กับการเจริญจตุธาตุววัตถานได้ตรงตามอรรถกถา +
- +
-  * พ.อ.กุมาระ         อาจารย์กรรมฐานพาอ้าว +
- +
-  * ตอบข้อกลาปะได้ตรงตามอรรถกถา-ฏีกาบาลี +
- +
-  * พ.อ.สมบูรณ์ +
- +
-  * ตอบข้ออายุพระศาสนาได้ โดยไม่ทำให้อรรถกถาขัดแย้งกัน +
- +
-  * พ.อ.อัมพร +
- +
-  * ตอบข้อเนตติปกรณ์ นยสังเขปได้โดยไม่ทำบาลีให้ขัดแย้งกัน +
-  * ตอบข้ออนุปัสสนาและวิปัสสนา ในมาติกาปฏิสัมภิทามรรคได้ตรงตามหลักบาลี +
- +
-  * พ.อ.รุจ +
- +
-  * ตอบข้อที่เกี่ยวกับฌานได้โดยพิศดาร ด้วยภาษาไทย โดยไม่ทำให้ตำราขัดแย้งกัน  +
- +
-  - ประวัติศาสตร์ไทยเสียระบบเรียนไป 100-200 ปี ใช่ไหม?​  +
- +
-  - History: Thai people lose their Mukhapātha System for almost 100-200 years, right? +
- +
-  - ปฏิสัมภิทามรรค  +
- +
-  - คำอธิบายของ [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D9%26i%3D1%26p%3D2%26h%3D%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2596%2520%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25BA%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A1%2520%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2595%25E0%25B9%258D,​%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542319000&​amp;​usg=AOvVaw0QFHyNS7FZxeQqnik5nPBX|เอวํ เม สุตํ]] ในอรรถกถาที่อธิบาย[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​pali_read.php?​B%3D9%26A%3D1%26w%3D%26modeTY%3D2%26h%3D%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25BA%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A1%2520%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2595%25E0%25B9%258D&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542320000&​amp;​usg=AOvVaw1xEeS-O5CoDt8aYPfDsv1B|ประโยคแรกของพระสูตรทั้งปวง]] เท่ากับแสดงตัวอย่างว่า ให้วิเคราะห์แยกสภาวะและบัญญัติ ด้วยปฏิสัมภิทาญาณ 4 กับบทที่เหลือในพระไตรปิฎกบาลีที่ท่องจำในระบบมุขปาฐะ ใช่หรือไม่?​ +
- +
-  - The comment of “Evaṃ me suttaṃ” in Atthakathā is the command and example to practice 4 Paṭisambhidāñāṇa by analyzing all other words in Tipiṭaka like that while reciting in the oral study tradition, right?   +
- +
-  - ปฏิสัมภิทาในญาณกถา มาติกา ปฏิสัมภิทามรรค [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​m_siri.php?​B%3D31%26siri%3D1%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2593&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542320000&​amp;​usg=AOvVaw1B-hR2v_NUhyW3Q2VzkO_M|มีอยู่ 2 แห่ง]],​ 2 ข้อนี้ แตกต่างกันเพราะ[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​m_siri.php?​B%3D31%26siri%3D1%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2593&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542321000&​amp;​usg=AOvVaw07JyhMBu5J1K62461IC9wE|แห่งแรก]]สาธารณะแก่พระอริยะทุกประเภท ส่วน[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​m_siri.php?​B%3D31%26siri%3D1%26h%3D%25E0%25B9%2596%25E0%25B9%2593&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542321000&​amp;​usg=AOvVaw2B3ZrCsqH9yYnlNVyZ5d0p|อีกแห่ง]]เป็นปฏิสัมภิทา เฉพาะผู้ที่ได้ปฏิสัมภิทัปปัตโตใช่หรือไม่?​ เกี่ยวข้องกับที่อรรถกถา[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D31%26i%3D0%26p%3D1%26h%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588:​%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25A2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542321000&​amp;​usg=AOvVaw3llCpEC_73I7waVQonuDo3|กล่าวว่า]] พระอริยะ[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D31%26i%3D268%26h%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542322000&​amp;​usg=AOvVaw04PgOMrizZKXI7EHebyPzG|ทุกระดับขั้นได้]]ปฏิสัมภิทาหรือไม่?​ +
- +
-  - There are 2 times of Paṭisambhidā in ñāṇakathāMātikā of Paṭisambhidāmagga. The first is about all Ariyas and the last is about Paṭisambhidappatto,​ right? +
- +
-  - หลักฐานที่ใดระบุว่า [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​pali_read.php?​B%3D31%26A%3D1%26w%3D%26modeTY%3D2%26h%3D%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2599&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542322000&​amp;​usg=AOvVaw3mbatd5FS8lh57mPap4Nd_|โสตาวธาเน]] ในสุตมยญาณ กับ [[https://​www.google.com/​url?​q=https://​4sacca.com/?​th.r.2.71..6.%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2595:​%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25AA&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542323000&​amp;​usg=AOvVaw0NHkMJ3n8zvx6cHnGyVZm0|มุขปาฐะ]] ในอรรถกถาภิกขุโนวาทกสิกขาบท สัมพันธ์กันด้วยสูตรว่า [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​read_th.php?​B%3D47%26A%3D1%26h%3D%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2598%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A3&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542323000&​amp;​usg=AOvVaw2FuZ3NdrCFJjwWT8j-9IUS|สุตธโร]]?​ +
- +
-  - Where are the references of the relation between “Sotāvadhānaṅ”,​ “Mukhapātha”,​ “Sutadharo”?​ +
- +
-  - หลักฐานตรงไหนบ้างกล่าวว่า มุขปาฐะของพระโยคี กับ มุขปาฐะของพระอรหันต์\\ ไม่เท่ากัน?​ ต่างกันอย่างไร?​ +
-  - พระสูตรที่ว่า อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปริโยสานกัลยาณัง เกี่ยวข้องกับมุขปาฐะอย่างไร?​ +
-  - นิรุตติปฏิสัมภิทาเกี่ยวข้องกับมุขปาฐะหรือไม่?​ ทำไมในอรรถกถาเวลาเรียนกรรมฐานถึงชอบใช้คำว่า อุคฺคหปริปุจฺฉาสวนธารณสมฺมสน โดย อุคฺคห ในอรรถว่า\\ ปาฬิวาจุคฺคต?​ +
-  - บาลีเชื่อมโยงกันเป็นสาธารณโภคี ที่จะทำให้เกิดทิฏฐิสามัญญตา อันเป็นบาทฐานของสาราณียธรรมที่เหลือ ระหว่างคณะสงฆ์ไทยและคณะสงฆ์โลกได้ ใช่หรือไม่?​ +
-  - การตามไปของศัพท์ในสูตรกัจจายนะ ต้องใช้ในมาติกาปฏิสัมภิทามรรค เนตติปกรณ์ และการอ่านแต่ละนิกายอย่างไร?​ +
-  - ถ้าในสูตรก่อนๆ มาติกาก่อนๆ มีศัพท์ที่ควรโยคมาแปลกับสูตรปัจจุบัน การละทิ้งเสียแล้วไปโยคคำอธิบายจากอรรถกถามาแปล หรือ การแปลทับศัพท์สมควรหรือไม่?​ +
-  - จากข้อที่กล่าวมาข้างต้นมีความสัมพันธ์กับการที่ศาสนาพุทธไทยเสื่อมกว่าพม่าอย่างไร?​ +
-  - ฝึกปฏิสัมภิทา 4 ในเพศปุถุชน ในระบบมุขปาฐะเริ่มตรงไหน จบตรงไหน?​ +
-  - ในมาติกาปฎิสัมภิทามรรคนี้ บทว่า ญาณ กับ ปัญญา ต่างกันอย่างไร?​ ทราบได้อย่างไรว่าต่างกัน?​ ทำไมในธัมมสังคณีแสดงไว้โดยความเป็นเววจนะ?​ +
-  - ทำไม 3 ญาณแรกแสดงความเป็นบาทฐานด้วย ต, ตฺวาน,​ ตฺวา ปัจจัย แต่ธัมมัฏฐิติญาณไม่แสดงด้วยปัจจัยเหล่านั้น?​ +
-  - ในบาลีก็ดี อรรถกถาก็ดี ให้ใช้มุขปาฐะแบบไหนกับ 14 ญาณแรกนี้?​ +
-  - สุต  ศัพท์ คือ มุขปาฐะนี้ ตามไปจนถึงญาณไหน?​ สังเกตจากอะไร?​ +
-  - ปฏิสัมภิทามรรคแสดงสีลวิสุทธิว่าจะวิสุทธิ์เพียงพอได้อย่างไร?​ +
-  - ธรรมที่ไม่ใช่กามคุณที่รูปฌานลาภีปุถุชนรู้ได้ และนำมาใช้ในบทว่า วิวิจฺเจว กาเมหิ คืออะไร?​ มีประโยชน์ต่อสมถะอย่างไร?​ ในวิปัสสนามีอารมณ์ประเภทเดียวกันนี้บ้างหรือไม่?​ ต่างกันอย่างไร?​ +
-  - จตุธาตุววัตถานเป็นต้น ไม่ได้อัปปนาฌาน เพราะไม่มีปฏิภาคบัญญัตินิมิตเป็นอารมณ์ จึงไม่อาจวิวิจฺเจว กาเมหิ ได้ แต่อรูปฌาน 2 และ 4 มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์ได้ เพราะไม่ใช่ปรมัตถ์ที่เป็นกามคุณ หรือ เนื่องด้วยกามคุณ ใช่หรือไม่?​ +
-  - จตุธาตุววัตถานเป็นต้น ระดับอุปจาระ มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์อย่างเดียวหรือไม่?​ +
-  - คำอธิบายของภาวนาอยู่ในเมตตานิสังสสูตรใช่หรือไม่?​ +
-  - คำว่า ภาวนา ใน สมาธิภาวนามยญาณ ต้องโยคตามไปถึงมาติกาข้อไหน?​ +
-  - คำว่าสมาธิ ใน สมาธิภาวนามยญาณ ต้องโยคตามไปถึงมาติกาข้อไหน?​ +
-  - การววัตถานนามรูปในทิฏฐิวิสุทธิ คือนามรูปปฏิจจสมุปบาทในบทว่า ปจฺจย ของ ปจฺจยปริคฺคเห ปญฺญา ในธัมมัฏฐิติญาณ ใช่หรือไม่?​ +
-  - การววัตฐานนามรูปที่วิสุทธิพอ จะต้องทำให้พิจารณานามรูปในปฏิจจสมุปบาทในธัมมัฏฐิติญาณได้ จนไตรลักษณ์ปรากฎ ใช่หรือไม่?​ +
-  - คำว่า ปัจจย,​ ธมฺม,​ ฐิติ  ต้องโยคตามไปถึงมาติกาข้อไหน?​ +
-  - คำว่า ปุริมกัมมภวัสสมิง และปฏิสนฺธิวิญฺญาณ ในธัมมัฏฐิติญาณนิทเทสนี้ แสดงให้เห็นว่า ต้องระลึกได้อย่างน้อย 3 ชาติในญาณนี้แม้ไม่ได้ฌาน ใช่หรือไม่?​ +
-  - ตามมาติกาปฏิสัมภิทามรรค ถ้าผู้ที่ไม่ได้แม้เพียงรูปฌาน แล้วมาทำญาณธัมมัฏฐิติญาณ เมื่อบรรลุจะเป็นปฏิสัมภิทาอริยะ ด้วยปฏิสัมภิทามาติกาก่อน แต่ไม่เป็น\\ ปฏิสัมภิทัปปัตโต ในปฏิสัมภิทามาติกาหลัง ใช่หรือไม่?​ +
-  - ตามมาติกาปฏิสัมภิทามรรค ถ้าผู้ที่ได้รูปฌาน แล้วมาทำญาณธัมมัฏฐิติญาณ เมื่อบรรลุจะเป็น เตวิชโช ใช่หรือไม่?​ และเป็นปฏิสัมภิทาอริยะ ด้วยปฏิสัมภิทามาติกาก่อน แต่ไม่เป็นปฏิสัมภิทัปปัตโต ในปฏิสัมภิทามาติกาหลัง ใช่หรือไม่?​ +
-  - ตามมาติกาปฏิสัมภิทามรรค ถ้าผู้ที่ได้วสีในฌาน 8 พร้อมอภิญญา 5 แล้วมาทำญาณธัมมัฏฐิติญาณ เมื่อบรรลุจะเป็น ฉฬภิญโญ ใช่หรือไม่?​  และเป็นปฏิสัมภิทาอริยะ ด้วยปฏิสัมภิทามาติกาก่อน แต่ไม่เป็นปฏิสัมภิทัปปัตโต ในปฏิสัมภิทามาติกาหลัง ใช่หรือไม่?​ +
-  - ศัพท์ว่า ปัจจัย(ธรรม)และ(ปัจจยุปบัน)ธรรมในธัมมัฏฐิติญาณที่ตามไปจนถึงมรรคญาณนี้ เป็นปฏิจจสมุปบาททั้งหมดใช่หรือไม่?​ +
-  - อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนานํ ธมฺมานํ นี้ คือ ธมฺม ศัพท์เดียวกับ ธมฺมและฐิติ ใน ธัมมัฏฐิติญาณใช่หรือไม่?​ ต่างกันที่สัมมสนญาณเป็นเฉพาะปัจจุปฺปนฺนทฺธาถึง\\ ปัจจุปบันสันตติของ 3 อัทธาที่ปริคฺคห มาแล้วในธัมมัฏฐิติญาณ ใช่หรือไม่?​ +
-  - คำว่า ปจฺจปุปฺปนฺนานํ ธมฺมานํ นี้ คือ ธมฺม ศัพท์เดียวกับ ธมฺมและฐิติ ใน ธัมมัฏฐิติญาณใช่หรือไม่?​ ต่างกันที่อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ เป็นเฉพาะปัจจุบันขณะและสันตติ แห่งปัจจุปฺปนฺนทฺธา ที่พิจารณามาแล้วในสัมมสนญาณ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ศัพท์ว่า อนุปัสสนาญาณ กับ วิปัสสนาญาณ ในมาติกา 2 ญาณ บ่งบอกถึงพลวิปัสสนาสมาธิ,​ อนุสัยไม่เกิด ที่มาในฏีกาต่างๆ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ปริจฺเฉท ปริคฺคห ววตฺถาน ต่างกันอย่างไร?​ +
-  - คำว่า สภาวธรรมปรากฎมาในทิฏฐิวิสุทธินิทเทส วิสุทธิมรรค ใช่หรือไม่?​ ที่พาอ้าวใช้ทำสภาวะธรรมให้ปรากฎด้วยการทำฌานแล้วออกจากฌานมาพิจารณาใช่หรือไม่?​ ถ้าเทียบทั้งสองกรณี รวมกับลำดับในทิฏฐิวิสุทธินิทเทส กับลำดับของสีหวิกกีฬิตนัย เท่ากับว่า การทำสภาวธรรมให้ปรากฎในทิฏฐิวิสุทธินิทเทสนั้น สำหรับสุขาปฏิปทา ทันธาภิญญา (วิปัสสนายานิก) ใช่หรือไม่?​   +
- +
-  - เนตติปกรณ์  +
- +
-  - หาระแปลว่านำเข้าไปสู่พยัญชนะ แล้วนยะจึงแปลว่า นำอรรถะออกมา ใช่หรือไม่?​ +
-  - สาสนวรํ ในสังคหวาระ โยคอะไร?​ จากไหน?​ +
-  - พยัญชนพยัญชนบท ต่างจาก พยัญชนบทอย่างไร?​ +
-  - จงยกตัวอย่างนิทเทสพยัญชนบทในพระไตรปิฎกมา +
-  - จงแปลสังคหะ อุทเทส นิทเทส ด้วยความเข้าใจของตนเองโดยอย่าให้มีบททึ่สงสัยได้แม้สักบท +
-  - จงอธิบายขั้นตอนในนยนิทเทส +
-  - จงอธิบายข้อที่คนเข้าใจกันไปว่า "​ในนยสังเขป สีหวิกกีฬิตนัยกับติปุกขลนัย ขัดแย้งกัน"​ ให้ไม่ขัดแย้งกัน โดยเชื่อมโยงกับกรณีพระมหาสิวะอธิบายมหาอรรถกถาของมหาสติปัฏฐานสูตร +
-  - รู้ได้อย่างไรว่า คำว่า สัมมาสมาธิ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มีอรรถปกาสนา และเทียบให้เห็นข้อแตกต่างได้กับสูตรใดบ้าง?​ +
- +
-  - มหาสติปัฏฐานสูตร  +
- +
-  - คำอธิบายของ เอวมฺเม สุตํ ในอรรถกถา เท่ากับแสดงตัวอย่างว่า ให้วิเคราะห์แยกสภาวะและบัญญัติ โดยนัยปฏิสัมภิทา 4 ในบทที่เหลือในพระไตรปิฎกบาลีที่ท่องจำในระบบมุขปาฐะ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ในการวินิจฉัยอรรถะ ธรรมะ แม้พระไตรปิฎกบาลีถูกจารแล้วก็ตาม แต่พระภิกษุก็ควรวินิจฉัยด้วยวิธีการท่องบาลีวนไปวนมา เหมือน พระจูฬสุมะและพระจูฬนาควินิจฉัยมหาสติปัฏฐานสูตร ใช่หรือไม่?​ +
-  - พระไตรปิฎกแปลไทยทุกฉบับ แปลตกหล่นบทว่า อปรํ ไปจาก 17 บรรพะ,​\\ แปล “นิทธารณะ” ตกหล่น คือ กาเย กายสฺมึ เวทนาสุ จิตฺเต จิตฺตสฺมึ ธมฺเมสุ,​\\ แปล อานาปานบรรพะกำกวม,​ แปล ปชานาติ ของอานาปานบรรพะ กับ ปชานาติ ของอิริยาบถบรรพะ ขาดตอนกัน (เพราะไม่แปลบทว่า อปรํ,​ ไม่เชื่อม นิทฺสีทติ เข้ากับ นิสฺสินฺโน,​ และไม่แปลนิทธารณะของ กาเย เป็นต้น),​ แปลไม่ครบอรรถะ ธมฺม ศัพท์  จึงส่งผลให้นักอภิธรรมไทยไม่สามารถเข้าใจ พระป่าและพาอ้าวได้ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ประวัติชาวกุรุในอรรถกถา,​ วิสุทธิมรรคว่าในบรรพะแสดงกรรมฐานโดยสังเขป,​ ข้อความหลัง อิติ ศัพท์ตรงกับภังคญาณ ปฏิสัมภิทามรรค,​ อรรถกถาแสดง ติฏฺฐนฺตุ เพียงติกและมัชฌิมบุคคล ไม่แสดงมันทบุคคล,​ และการบรรลุ 30,000 หลังฟัง เหล่านี้ สามารถบ่งชี้ได้หรือไม่ว่า มหาสติปัฏฐานสูตรเหมาะจะแสดงแก่ผู้เจริญพลววิปัสสนาญาณ?​ +
-  - อรรถกถากายคตาสติสูตร องค์ประกอบในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาของอานาปานัสสติสูตร และประวัติของพระปัญจวัคคีย์ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร บ่งชี้ว่าสูตรเหล่านี้เหมาะกับผู้เจริญพลววิปัสสนาญาณ เพราะผู้ฟังได้ฌานแล้วหรือเป็นผู้มีปกติไม่มีกิเลสเกิดอยู่แล้ว ส่วนกายคตาสติสูตรเหมาะกับผู้เริ่มทำภาวนาเพราะแสดงกายานุปัสสนาสติปัฏฐานที่ถึงอัปปนาฌาน (ทางตรงบ้าง ทางอ้อมบ้าง) ใช่หรือไม่?​ +
-  - ธมฺม ศัพท์ 4 ศัพท์ ที่ปรากฎในมหาสติปัฏฐานสูตร มีอรรถะต่างกันอย่างไร โดยบริบทของสูตร รวมถึงโดยอรรถกถา ฏีกา?​ +
-  - ธมฺม ศัพท์ใดบ้างในมหาสติปัฏฐานสูตร มีความหมายเท่ากับ ธมฺม ศัพท์ในบทว่า สมุทยธมฺม ของธรรมจักกัปปวัตตนสูตร และของอุทยัพพยญาณนิทเทส ปฏิสัมภิทามรรค วิสุทธิมรรค อภิธัมมัตถสังคหะ?​ +
-  - ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ แปลให้เข้ากับ สมุทย ศัพท์ ที่มาก่อนในสูตรเดียวกัน และ สมุทยธมฺม ศัพท์ ที่มาหลังในคาถาของพระอัสสชิ รวมถึงใน-\\ มหาสติปัฏฐานสูตร และในอุทยัพพยญาณนิทเทส ปฏิสัมภิทามรรค อย่างไร?​ +
-  - ในอรรถกถาท้ายสูตร เรื่องนวสีวถิกบรรพะเป็นอาทีนวานุปัสสนา พระมหาสิวะกำลังอธิบายมหาอรรถกถาอิริยาปถบรรพะ และมหาอรรถกถาสัมปชัญญบรรพะอยู่ใช่หรือไม่?​ +
-  - ปกติแล้ว ถ้ามติไหนไม่สมควร พระพุทธโฆษาจารย์จะใช้คำว่า อยุตฺตํ แล้วอธิบายใช่หรือไม่?​ +
-  - ถ้ามติไหนอธิบายซึ่งกันและกันอยู่พระพุทธโฆษาจารย์จะระบุเพียงชื่อของผู้พูดเท่านั้น แต่ไม่กล่าวว่า อยุตฺตํ เพราะล้วนเป็นมติที่ถูกต้อง ใช่หรือไม่?​ +
-  - ในที่มหาอรรถกถาแสดงสีหวิกีฬิตนัย พระมหาสิวะจะแสดงติปุกขลนัย,​ ในที่มหาอรรถกถาแสดงติปุกขลนัย พระมหาสิวะจะแสดงสีหวิกีฬิตนัย ใช่หรือไม่?​ โดยประการนี้ทั้งสองมติก็เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใช่หรือไม่?​ +
-  - ตามที่ปรากฎในนยสมุฏฐานของเนตติปกรณ์ สีหวิกีฬิตนัยแสดงแบบราชสีห์บรรลือ สีหนาทครบทุกขั้นตอนใช่หรือไม่?​ ติปุกขลนัยแสดงแบบตามความเหมาะสม ไม่ครบลำดับขั้นตอน ตามจริต ตามอัธยาศัยใช่หรือไม่?​ +
-  - มหาสติปัฏฐานสูตรลำดับตามสีหวิกีฬิตนัยใช่หรือไม่?​ +
-  - มหาอรรถกถาใช้ติปุกขลนัย อธิบายบรรพะในมหาสติปัฏฐานสูตร (ที่ลำดับเป็น\\ สีหวิกกีฬิตนัยแบบกายคตาสติสูตร แต่จัดหมวดเป็นติปุกขลนัยเพราะแบ่งเป็นบรรพะ) ว่า 11 บรรพะเป็นอารมณ์กรรมฐานแห่งอัปปนาภาวนา ส่วนมหาสิวะใช้สีหวิกกีฬิตนัย มาจัดเป็นอารมณ์กรรมฐานแห่งอัปปนาภาวนาเพียง 2 เพื่ออธิบายว่า มหาอรรถกถาแสดงติปุกขลนัยตามการแบ่งบรรพะ แต่ตามลำดับสูตรที่ไม่แบ่งบรรพะเช่นกายคตาสติสูตรนั้น มหาสติปัฏฐานสูตรจะเป็นการแสดงแบบสีหวิกกีฬิตนัย ใช่หรือไม่?​ +
-  - ที่พาอ้าวและพระป่าโบราณไทย ล้วนให้ทำอานาปานัสสติก่อน เพราะแนะนำตาม\\ กายคตาสติสูตรบาลีและอานาปานัสสติสูตรอรรถกถา รวมถึงมหาสติปัฏฐานสูตรบาลี ใช่หรือไม่?​ มีความเกี่ยวข้องกับที่วิสุทธิมรรคกล่าวว่า อานาปานัสสติเหมาะกับโมหะจริตหรือไม่?​ มีความเกี่ยวข้องกับที่อรรถกถาไม่อธิบาย มันทบุคคล เข้าไปในบทว่า ติฏฺฐตุ หรือไม่?​ มีความเกี่ยวข้องกับ 7 ปี 7 เดือน 7 วัน อย่างไร?​ เกี่ยวข้องกับการได้ฌานในบทว่า วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ หรือไม่?​ การที่ลมหายใจกระทบอยู่ตลอดเวลา ย่อมทำให้เกิดการรับรู้ได้ง่ายกว่ากรรมฐานกองอื่นที่ไม่มีการกระทบเนืองๆ แบบนี้ใช่หรือไม่?​ +
-  - แม้ในวิสุทธิมรรคจะอธิบายจนเหมือนกับอานาปานัสสตินั้นยากจนคนธรรมดา\\ คงไม่อาจทำได้ แต่เมื่อพิจารณาลำดับบาลีในพระสูตรเป็นต้นแล้ว ท่านแสดงเช่นนั้นก็เพื่อให้พยายามให้หนักเท่านั้น ไม่ได้ประสงค์กล่าวว่าอานาปานัสสติเหมาะแก่มหาบุรุษเท่านั้น เพราะมหาบุรุษคงไม่เป็นโมหะจริต ใช่หรือไม่?​ โดยลักษณะของกรรมฐานแล้ว ควรจะเป็นกรรมฐานกองที่ง่ายที่สุดไม่ใช่หรือ?​ จะมีกรรมฐานกองใดที่สะกิดพระโยคีที่จมูกทั้งวันทั้งคืนอยู่ยิ่งกว่าพระอุปัชฌาย์คอยสะกิดเตือนนิสิตเช่นนี้อีกเล่า?​ +
-  - เมื่อมหาสติปัฏฐานสูตรบาลีโดยนัยของกายคตาสติสูตร แสดงโดยสีหวิกกีฬิตนัย ก็เท่ากับว่า อิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะเป็นขั้นต่อไปของอานาปานบรรพะใช่หรือไม่?​ เมื่อเจริญอานาปานัสสติก็พึงเจริญอานาปานัสสติในอิริยาบถ 4 สัมปชัญญะ 7 ฐานใช่หรือไม่?​ เมื่อได้ฌานในอิริยาบถนั่งแล้ว ก็พึงให้ได้ฌานในอิริยาบถ 3 สัมปชัญญะ 7 ฐาน ตามสีหวิกกีฬิตนัยในกายคตาสติสูตร ที่แสดงองค์ฌานไว้ในทั้ง 14 ข้อโดยไม่แบ่งบรรพะใช่หรือไม่?​ +
-  - ในอรรถกถาอธิบายอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะโดยนัยของวิปัสสนาอย่างละเอียด เพราะได้แนะไม่ให้ทำอภินิเวสในอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะสำหรับผู้เริ่มทำภาวนาไว้ในตอนท้ายใช่หรือไม่?​ นั่นหมายความว่า การทำตามอรรถกถาอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะ โดยสีหวิกกีฬิตนัยแล้ว ควรผ่านอานาปานัสสติฌานในอิริยาบถ 4 ฐาน 7 มาก่อนแล้วใช่หรือไม่?​ +
-  - เพราะเหตุที่อรรถกถาแสดงโดยติปุกขลนัยไว้ในตอนอธิบายอิริยาบถบรรพะ สัมปชัญญะบรรพะ โดยนัยของวิปัสสนา และแสดงโดยติปุกขลนัยไว้ในตอนท้ายอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรว่า เป็นบรรพะที่ไม่ควรอภินิเวสะก่อน ดังนั้นย่อมเกิดคำถามขึ้นว่า “เมื่อไม่ให้เจริญแล้วจะทำตามที่กล่าวไว้ในอรรถกถาของสองบรรพะนั้นอย่างไร” ท่านพระมหาสิวะเถระจึงได้อธิบายไว้ในตอนท้ายของอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรว่า ให้นำไปเชื่อมกับตรงที่ว่า “ใครเดิน ไม่มีใครเดินแล้วคืออะไร” เป็นต้น ในตอนต้นของอรรถกถาอิริยาบถบรรพะนั่นเอง ใช่หรือไม่?​ ถ้าท่านพระมหาสิวะไม่อธิบายไว้เช่นนี้ จะมีคนเข้าใจผิดว่าอรรถกถาอธิบายขัดแย้งกัน ใช่หรือไม่?​ โดยนัยนี้\\ ท่านพระมหาสิวะจึงอธิบายอรรถกถาและพระสูตรอยู่ ไม่ได้แย้งอยู่ใช่หรือไม่?​ +
-  - ถ้ารู้ธาตุพร้อมปัจจัยตามอรรถกถาอิริยาบถบรรพะแล้วไม่บรรลุ แสดงว่า พื้นฐานเรื่องธาตุบกพร่องใช่หรือไม่?​ เพราะเหตุนั้น ในวิสุทธิมรรคจึงขยายเรื่องธาตุพร้อมปัจจัยไว้อย่างละเอียดในจตุธาตุววัตถานกถา ใช่หรือไม่?​ มีบทว่า ยถา ยถา กาโย ปณิหิโต ในอิริยาบถบรรพ และบทว่า กายํ … ยถา ปณิหิตํ ในธาตุมนสิการบรรพใช่หรือไม่?​ +
-  - ศัพท์ว่า กลาป ในกลาปสัมมสนญาณของวิสุทธิมรรค คือ ราสิ ศัพท์ในปริจเฉท 7 สื่อถึงปรมัตถ์,​ แต่ศัพท์ว่า กลาป ในปริจเฉท 6 สื่อถึงสมูหฆนบัญญัติ ใช่หรือไม่?​ อธิบายตามหลักตำราบาลีอย่างไร?​ เกี่ยวข้องกับคำว่า สมูห,​ ฆน อย่างไร?​ อยู่ที่ไหนในตำราบาลีบ้าง?​ +
-  - เมื่อได้ฌานใน 3 บรรพะแรกแล้ว ก็สามารถทำปฏิกูลมนสิการบรรรพะให้ได้ฌานได้โดยไม่ยาก จึงแสดงปฏิกูลมนสิการบรรพะต่อ เพื่อจะทำการพิจารณาแยกกายออกเป็นโกฏฐาส,​ จากนั้นจึงแสดงจตุธาตุววัตถานต่อ เพื่อจะทำการแยกโกฏฐานออกให้เล็กที่สุดเป็นกลาป ในที่สุดก็แยกกลาปตามลักขณาทิจจตุกะ จนเหลือแต่ธาตุ 4 ใช่หรือไม่?​ +
-  - ทวัตติงสาการนิมิต กับ กลาปนิมิต ต่างกันอย่างไร?​ ที่ผู้มนสิการทวัตติงสาการนิมิตสามารถถึงอัปปนาได้ เพราะ วิวิจฺเจว กาเมหิ ได้ ส่วนผู้ที่มนสิการธาตุ 4 นั้น แม้ได้กลาปนิมิตบัญญัติ แต่ก็จำต้องแยกกลาปนิมิตบัญญัติออกเป็นธาตุ 4 ซึ่งเป็นปรมัตถ์ ตามวิสุทธิมรรคและฏีกากล่าวไว้ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ในอภิธัมมัตถสังคหะกล่าวว่า โอชัฏฐมกรูปเป็นอวินิพโภครูป โดยความเป็นสหชาตะ,​ แต่ในจตุธาตุววัตถานกถา วิสุทธิมรรค กล่าวว่า เป็นวินิพโภครูป โดยปัญญาใช้ลักขณาทิจตุกะไปปริจฺเฉทโอชัฏฐมกรูปออก เหมือนกับปริจฺเฉทโต ในกายคตาสติกถา ใช่หรือไม่?​ +
-  - ที่วิสุทธิมรรคบอกว่า จตุธาตุววัตถานเป็นต้นไม่มีนิมิต ในมหาฏีกาอธิบายว่า หมายเอาปฏิภาคนิมิต ใช่หรือไม่?​ หมายความว่า อุคคหนิมิตของทุกกรรมฐานมีอารมณ์ได้ทั้งปรมัตถ์และบัญญัติใช่หรือไม่?​ หรือว่ามีตรงไหนในพระบาลีห้ามไว้?​ และแบบไหนที่เข้ากันได้กับหลักวาระจิต มีอตีตัคคหณวิถี สมูหัคคหณวิถี อัตถัคคหณวิถี นามัคคหณวิถี เป็นต้น มากกว่ากัน?​ +
-  - กลาปะเป็นสมูหฆนบัญญัติที่ต้องทำฆนบัญญัติวินิพโภคะ ในตอนขึ้นต้นภังคญาณกถาแห่งวิสุทธิมรรคใช่หรือไม่?​ +
-  - พลววิปัสสนาสมาธิที่เพ่งปฏิจจสมุปบาท กับ สมาธิที่เพ่งอุคคหนิมิต จัดเป็นขณิกสมาธิเหมือนกันใช่หรือไม่?​ +
-  - ด้วยบทว่า อปรํ ในมหาสติปัฏฐานสูตรนี้ การแยกกลาปะใสทั่วร่างปรากฎในกายคตาสติกถาต่อเนื่องมาในจตุธาตุววัตถานกถาในวิสุทธิมรรค. ข้อแตกต่าง คือ ในกายคตาสติกถาแยกอวัยวะออกเป็นส่วนเพื่อให้ได้อสุภสมูหุปาทาบัญญัติเป็นอารมณ์,​ ส่วนในจตุธาตววัตถานนั้น แยกอสุภสมูหุปาทาบัญญัตินั้นออกอีก จนเหลือกลาปสมูหุปาทาบัญญัติเป็นอุคคหนิมิตที่เกือบถึงปฏิภาคนิมิต แต่ไม่ถึงปฏิภาคนิมิตสมบูรณ์  เพราะจตุธาตุววัตถานแยกกลาปปฏิภาคนิมิตนั้น ออกจนเหลือมหาภูตกามคุณปรมัตถารมณ์ จึงทิ้งกามคุณอารมณ์ (วิวิจเจว กาเมหิ) คือ มหาภูตรูปกามธรรมไม่ได้,​  ฉะนั้น จตุธาตุววัตถานอุปจารฌาน แม้ทั้งข่มนิวรณ์ไว้ได้ (วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ) แม้ทั้งได้โอภาส-\\ อุปักกิเลส แม้ทั้งเคยได้อัปปนาที่มีอวัยวะปฏิภาคนิมิตจากกายคตาสติมาแล้ว แม้ทั้งได้กลาปอุคคหนิมิตจากจตุธาตุกัมมัฏฐานวิธิ แต่กระนั้นโดยประการไรๆ ก็ไม่อาจได้อัปปนาฌาน เว้นแต่จะทำอภิภายตนะใช่หรือไม่?​ อนึ่ง ในพุทธานุสสติกัมมัฏฐานเป็นต้น ก็นัยเดียวกันนี้ใช่หรือไม่?​ อย่างไร?​ +
-  - ทำไมไม่เอานิมิตของอานาปานัสสติ,​ เมตตา,​ อสุภะ เป็นต้น มาแยกธาตุ 4? +
-  - แข็งอ่อน เป็นอุปนิธาบัญญัติ แต่ใช้สอน จตุธาตุได้ เพราะเอามาจากบาลีในวิภังคปกรณ์ ซึ่งอรรถกถาระบุให้เอาอภิธรรมมาสอนวิปัสสนาอยู่แล้ว ใช่หรือไม่?​ +
-  - อภิธรรมใช้สอนกรรมฐานโดยตรงใช่หรือไม่?​ +
-  - จำบาลีถ้าเข้าใจถึงสภาวะที่บาลีสื่อถึง เป็นถิรสัญญาแก่สติได้ เพราะแม้ไตรลักษณ์บัญญัติและกัมมัฏฐานบัญญัติ ก็ยังเป็นถิรสัญญาแก่สติได้ ใช่หรือไม่?​ +
-  - เมื่อทำจตุธาตุได้แล้ว เมื่อจะจบรูปกรรมฐานด้วยอาทีนวพลววิปัสสนาญาณ จึงใช้สีหวิกกีฬิตนัยแสดง นวสีวถิกาบรรพะ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ถ้าได้ปัญจมฌานแล้ว จะข้ามเวทนานุปัสสนาไปเลยก็ได้ใช่หรือไม่?​ +
-  - บทว่า ธมฺเมสุ ในปฏิสัมภิทามรรค แปลว่า “สญฺญาและสังขาร” เพราะอรรถะนิทธารณะในสติปัฏฐานทั้ง 4 ข้อ ใช่หรือไม่?​ บทเดียวกันนี้ แปลว่า “เหตุ (การณะ)” เพราะแสดงรูปสญฺญา ไม่แสดงจกฺขุสญฺญา,​ แสดงสังขารก่อนวิญญาณ (ทั้งขันธ์และปฏิจจสมุปบาท),​ แสดงเฉพาะนิวรณ์และโพชฌงค์ ในวิภังค์ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ในขันธบรรพะ “อิติ รูปํ” เป็นต้น เข้ากับ “สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ” ใช่หรือไม่?​ อ้างอิงกับขณะตรัสรู้ในมหาปทานสูตรใช่หรือไม่?​   +
-  - ไม่ได้ฌาน หรือ ปกติไม่ใช่ทิฏฐิจริตบุคคล จะนับ 7 ปี 7 เดือน 7 วัน ไม่ได้ใช่หรือไม่?​ +
-  - สมถภาวนาวิถี วิปัสสนาภาวนาวิถี เป็นอย่างไร?​ เพื่ออะไร?​ +
-  - เมื่อวิเคราะห์แนวการพูดของท่านอาจารย์สุจินต์แล้ว โดยปกติองค์ธรรมมักจะเข้ากับอายตนบรรพะ เยอะที่สุด ใช่หรือไม่?​ +
- +
-  - ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร  +
- +
-  - ใครควรเป็นผู้แนะนำพระโพธิสัตว์ให้ไปทำฌานกับอาฬารดาบสและอุทกดาบส?​ +
-  - ตามโครงสร้างของธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระปัญจวัคคีย์ควรได้ฌานมาก่อนบรรลุแล้วใช่หรือไม่?​ +
-  - พระปัญจวัคคีย์รู้ได้ไงว่า คำว่า อริยะ ในคำว่าอริยะสัจ เป็นอย่างไร?​ เกี่ยวข้องกับที่อรรถกถาทีฆนิกายกล่าวว่า พระพรหมอนาคามีลงมาบอกมหาปุริสลักษณะแก่ฤๅษีแถวอารยันประเทส (ที่อยู่ของชาวอริยกะ) ซึ่งต่อมาเรียกตัวเองว่าพราหมณ์ (เหล่ากอแห่งพรหม) ใช่หรือไม่?​ +
-  - ทำไมถึงใช้คำว่า กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา เกี่ยวข้องกับปัญจวัคคีย์อย่างไร?​ +
-  - ยํ กิญฺจิ [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​read_th.php?​B%3D30%26A%3D1967%26h%3D%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2,​%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2598&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542333000&​amp;​usg=AOvVaw03piPCb8XQ0WcsDCmg51lc|สมุทยธมฺมํ]] สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ แปลให้เข้ากับ สมุทย ศัพท์ ที่มาก่อนในสูตรเดียวกัน และ สมุทยธมฺม ศัพท์ ที่มาหลังในคาถาของพระอัสสชิ รวมถึงใน[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​m_line.php?​B%3D10%26A%3D8767%26h%3D%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%259B%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B8&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542333000&​amp;​usg=AOvVaw14E191FhndewENcdAqnPYm|มหาสติปัฏฐานสูตร]] ในอุทยัพพยญาณนิทเทส ปฏิสัมภิทามรรค อย่างไร?​ +
- +
-  - อายุพระศาสนา  +
- +
-  - ถ้าว่าตามภิกขุนิขันธกะอรรถกถา ยุคนี้ไม่มีผู้ได้โลกิยอัปปนาฌานแล้วไม่ใช่หรือ?​ ฏีกา 3 ฏีกา กล่าวว่าข้อความในอรรถกถาแต่ละคัมภีร์ก็ไม่ตรงกันไม่ใช่หรือ?​ หรือว่าสัมพหุลเถราปเทสนี้มีข้อบกพร่อง?​ อย่างไร?​ ถ้า[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/edit?​usp%3Dsharing&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542334000&​amp;​usg=AOvVaw2ZK6Xng5KwPDXjqZ1uvdB6|ข้อวินิจฉัยในลิงก์นี้]]สามารถพิสูจน์ได้ว่าสังฆาปเทส คือ อรรถกถาเหล่านี้ไม่ขัดแย้งกัน จะกล่าวว่าสัมพหุลเถราปเทสนั้น อยุตฺตํ ได้หรือไม่?​ มีหลักฐานหรือไม่?​ +
-  - กล่าวกะใคร และกล่าวอย่างไร จึงจะไม่ทำให้ความเลื่อมใสในพระฏีกาจารย์ลดลง?​ +
- +
-  - กลาปะและบัญญัติ  +
- +
-  - ในปรมัตถ์,​ อัตถบัญญัตติ,​ และอวิชชมานบัญญัตติเป็นต้น จะเอามาแจก อนุสัยของปุถุชน,​ อนุสัยขณะมรรค,​ อนุสัยของพระเสกขะ,​ อนุสัยของพระอรหันต์,​ อนุสัยของพระพุทธเจ้า ได้อย่างไรบ้าง?​ +
-  - คำถามที่เหลืออยู่ในหัวข้อมหาสติปัฏฐานสูต[[#h.h2t8tji7ehpm|ร]] หมวดธาตุมนสิการบรรพะ +
- +
-  - อะไรคือทิฏฐิ  +
- +
-  - อฏฺฐกถา:​ ตสฺสา ทฺเว สมฺภารา -- วตฺถุโน จ คหิตาการวิปรีตตา,​ ยถา จ ตํ คณฺหาติ ตถาภาเวน ตสฺสุปฏฺฐานนฺติฯ +
-  - ฏีกา:​ คหิตาการวิปรีตตาติ มิจฺฉาทิฏฺฐิยา คหิตาการสฺส วิปรีตภาโวฯ วตฺถุโนติ ตสฺสา อยถาภูตสภาวมาหฯ ตถาภาเวนาติ คหิตากาเรเนว ตสฺส ทิฏฺฐิคติกสฺส,​ ตสฺส วา วตฺถุโน อุปฏฺฐานํ เอวเมตํ,​ น อิโต อญฺญถาติฯ +
-  - คำอธิบายจากผู้เรียบเรียงเอกสาร:​ คหิตาติ มหากุสลํ วา เสกฺขานํ อกุสลทิฏฺฐิคตวิปฺปยุตฺตํ วา วิปรีตาการวตฺถุํ คณฺหาติ,​ อิธ ปน ทุติยงฺเคนาปรํ ทิฏฺฐุปาทานสมฺปยุตฺต-\\ จิตฺตุปฺปาโทฯ ตญฺหิ สจฺจปพฺเพ รูปาทิพาหิรายตนานิ วิปรีตปจฺจยากาเรน  ปุนปฺปุนํ สญฺชานาติ สญฺเจตยติ อุปาทิยติ วิตกฺกยติ วิจาเรติฯ ปจฺจยาการวิปรีตตาติ มิจฺฉาฯ ทิฏฺฐิ ทสฺสนํ,​ อุปฏฺฐานํ ปากฏํ จกฺขุนา ทสฺสนํ วิย. จกฺขุวิญฺญาณํ หิ อุปฏฺฐานํ ทสฺสนํ,​ น โสตฆานาทินา อนฺธภูตํ วิยฯ วิปรีตตาติ ปฏิจฺจสมปฺปาทปฏิจฺจสมุปฺปนฺนานํ ปจฺจยาการานํ วิปรีตตาฯ มิจฺฉาทิฏฺฐิยา คหิตาการสฺส วิปรีตภาโวติ “มนุสฺสโลเก อปุญฺญาภิสงฺขารปฏิจฺจสมุปฺปาทสฺมา สคฺเค วิญฺญาณนามรูปปฏิจฺจสมุปฺปนฺนานํ นานกฺขณิกกมฺมปกตูปนิสฺสยปจฺจเยน ปจฺจโย”ติอาทินา นเยน มิจฺฉาทิฏฺฐิเจตสิกสมฺปยุตฺเตน โลภเจตสิเกน คหิเตน ปจฺจยาการานํ วิปรีตภาโวฯ วตฺถุโนติ ตสฺสา มิจฺฉาทิฏฺฐิยา อารมฺมณํ อาหฯ  มิจฺฉาทิฏฺฐิ หิ อยถาปจฺจยาการภูตา วิปรีตสภาวา อารมฺมณิกาฯ ตถาภาเวนาติ ยถา อยถาปจฺจยากาเรน วิปรีตภาเวน ตถา ตสฺสา ทิฏฺฐิยา อุปฏฺฐานํ “เอตํ สมฺมเทว วตฺถุ,​ น อิโต วตฺถุโต อญฺญถา ปจฺจยาการภูเตนา”ติฯ +
-  - อัตตาไม่มีอยู่จริง เพราะเป็นสมูหฆนบัญญัตติ อารัมมณฆนบัญญัตติ กิจจฆนบัญญัตติ สันตติฆนบัญญัตติ ใช่หรือไม่?​ +
-  - บัญญัติเหล่านั้น รับรู้ตั้งแต่วาระจิตชื่อว่าอะไร?​ +
-  - ในพลววิปัสสนา ไม่รู้ไตลักษณ์บัญญัติได้ไหม?​ หลักฐานอยู่ที่ไหนบ้าง?​ +
-  - อุคคหนิมิตต้องรู้ทั้งบัญญัติและปรมัตถ์ใช่หรือไม่?​ +
-  - คำว่า “เรา” เป็นนามบัญญัติ ใช่ไหม?​ คำว่าเรา สื่อถึง ฆนบัญญัติ ใช่ไหม?​ ฆนบัญญัติ คือ อารมณ์ไม่มีอยู่จริง ที่จิตอาศัย(อุปาทาย)รู้ขันธ์ แล้วประมวลขึ้นในวิถีที่ชำนาญขึ้นหลังจากอตีตัคคหณและสมูหัคคหณวิถีใช่หรือไม่?​ พระอรหันต์ทำโลกิยฌานหรือไม่?​ โลกิยฌานมีอุปาทาบัญญัติเป็นอารมณ์ได้หรือไม่?​ พระอรหันต์มีวิถีจิตเหล่านี้หรือไม่?​ พระอรหันต์รู้ฆนบัญญัติไหม?​ พระอรหันต์ใช้คำว่า “เรา” ไหม?​ +
-  - สภาพเข้าใจว่าเป็น “เรา” เป็นอัตตาบัญญัติ หรือ สภาพเข้าใจว่าเป็น “เรา” ไม่เป็นเป็นอัตตาเป็นบัญญัติ แต่เป็นทิฏฐิเจตสิก?​ ขณะเรียนเรื่องอัตตาบัญญัตติ กำลังรู้อัตตาบัญญัตติเป็นอารมณ์ เป็นกุศล หรือ อกุศล ควรเรียนหรือไม่ควรเรียน?​ อัตตาบัญญัติ ปรากฎอยู่ในตำราบาลีนับไม่ถ้วนใช่หรือไม่?​ +
-  - การเข้าใจอัตตาบัญญัตติในขณะเรียนเป็นต้น ต่างจากขณะที่อัตตานุทิฏฐิเจตสิกเกิดอย่างไร?​ +
-  - ควรปฏิบัติเพื่อเลี่ยงการรู้อัตตาบัญญัตติ หรือ ควรปฏิบัติเพื่อเข้าใจปฏิจจสมุปบาทจนไม่เหลือความเข้าใจอัตตาบัญญัตติ?​ +
-  - ถ้าเราเลี่ยงการรู้อัตตา เป็นสมถะ เพราะเลี่ยงอารมณ์ ใช่หรือไม่?​ +
-  - ในทิฏฐิวิสุทธินิทเทส การปริจเฉทกลาป แล้วววัตถานนามรูป นามรูปนี้ คือ นามรูปปฏิจจสมุปบาทที่เป็นปัจจุบันนัทธา ใช่หรือไม่?​ +
-  - ถ้าไม่ทำสมาธิ จะรู้ว่า สีลวิสุทธิเพียงพอแล้ว ได้อย่างไร?​ ถ้าไม่ทำปัจจยปริคคหญาณ จะรู้ว่าทิฏฐิวิสุทธิเพียงพอแล้ว ได้อย่างไร?​ +
-  - ถ้าเราเข้าใจปฏิจจสมุปบาทจนเป็นอัตตาฆนวินิพโภคะ เป็นวิปัสสนา เพราะเข้าใจ\\ อารมณ์ทุกๆ ขณะโดยความเป็นปัจจัยและปัจจยุปบันใช่หรือไม่?​ +
-  - สิ่งใดอาศัยปัจจัยสังขาระ สิ่งนั้น เป็นสังขตะ ใช่หรือไม่?​ สิ่งใด เป็นสังขตะ\\ สิ่งนั้นไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีเหตุให้ต้องสิ้นไปเสื่อมไปใช่ไหม?​ ควรไหมจะยึดว่า นั่นเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา?​ +
- +
-  - ทำไมศาสนาพุทธไทยเสื่อมกว่าพม่า  +
- +
-  - สาราณียธรรมกับอายุพระศาสนา +
-  - การแปลบาลี +
-  - ลำดับในศาสนา +
- +
-  - ประวัติศาสตร์ศาสนายุคปัจจุบัน  +
- +
-  - พระมหากษัตริย์ต้องเปลี่ยนระบบทุกอย่างในประเทศรวมถึงระบบมุขปาฐะของศาสนาเพราะสงคราม เพื่อรักษาชาติไว้ ใช่หรือไม่?​ +
-  - สงครามมีผลต่อการสาบสูญของปริยัติศาสนาระบบมุขปาฐะของไทยใช่หรือไม่?​ +
-  - สงครามล่าอาณานิคมจากลังกาถึงไทย +
- +
-  - พ.ศ. 2048 +
-  - พ.ศ. 2201 สมัยพระนารายมหาราช +
-  - พ.ศ. 2352-2464 ระหว่าง[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikipedia.org/​wiki/​%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A9%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2586%25E0%25B9%258C%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2%23%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588_2_:​_%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2598%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542338000&​amp;​usg=AOvVaw220aip0UErFxbU3V87plFt|รัชกาลที่ 2]], [[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikipedia.org/​wiki/​%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2588%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A7%23%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%258A&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542339000&​amp;​usg=AOvVaw16fVYi6zL5ymD58orMe9l9|รัชกาลที่ 4]], สังฆราช[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikipedia.org/​wiki/​%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%2593%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2588%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2_%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AA%23%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2588&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542339000&​amp;​usg=AOvVaw3DFaADraBmd6ZYACEs5kQr|พระราชโอรสใน รัชกาลที่ 4]] (สมัย ร. 5 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า) +
- +
-  - สูญเสีย +
- +
-  - สมัยย้ายกรุง สูญเสีย บุคคลากรอาจารย์ +
-  - สมัยย้ายกรุง สูญเสีย ลำดับขั้นตอน +
-  - สมัยร. 2 สูญเสีย จารีตประเพณี +
- +
-  - เปลี่ยน[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikipedia.org/​wiki/​%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A9%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2586%25E0%25B9%258C%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2%23%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588_2_:​_%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2598%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542340000&​amp;​usg=AOvVaw2_YsTb_swe8g0aX_Ysw7lz|บาเรียน 3]] เป็น เปรียญ 9 +
- +
-  - สมัยร. 5 สูญเสีย มุขปาฐะ +
- +
-  - พระภิกษุในสมัยหลวงปู่เสาซึ่งอยู่ในสมัยข้างต้น ไม่ได้สอนลูกศิษย์ให้ท่องภิกขุนีปาติโมกข์ใช่หรือไม่?​ หรือ อาจสอนแล้วแต่พระรูปที่ได้เรียน ลี้ภัยสงครามไปพม่ากันหมด เพื่อรักษาพระสัทธรรมในตน?​ +
- +
-  - มูลสามัคคี +
-  - สาราณียธรรม +
- +
-  - สาธารณะโภคีคือบาลี +
-  - ทิฏฐิสามัญญตาคือเข้าใจเรื่องยากด้วยกัน +
-  - สีลสามัญญตา ประพฤติด้วยทิฏฐิเดียวกัน +
- +
-  - แบ่งหน้าที่ +
- +
-  - เวลาอายุสั้น +
-  - บุคคลากรน้อย +
-  - ขาดจารีต +
-  - ขาดคนเข้าใจเรื่องที่ยากที่สุด +
- +
-  - ความรู้ประวัติศาสตร์ไทย +
-  - ปริยัติอันตรธานในไทยเริ่มจากสาเหตุอะไรบ้าง?​ และเริ่มเกิดขึ้นมาแล้วกี่ร้อยปี?​ +
-  - แม้พระไตรปิฎกจะจารลงใบลานใน พ.ศ. 450 แต่เรายังเรียนแบบมุขปาฐะมาจนถึงสมัย ร 5 หรือ ราว พ.ศ. 2441 ใช่หรือไม่?​ +
-  - ความรู้ประวัติศาสตร์โลก +
-  - ทำไมมีแต่อรรถกถาสิงหล ไม่มีพระไตรปิฎกสิงหล?​ เพราะพระไตรปิฎกสิงหลก็ต้องมุขปาฐะเป็นภาษาบาลีเพื่อให้ถูกต้องตามพระวินัยใช่หรือไม่?​ +
-  - ความรู้ประวัติศาสตร์พุทธ +
-  - ความรู้อารมณ์ +
-  - ความรู้วิถีวารจิต +
-  - คำถามตำราบาลี +
-  - คำถามพระวินัย +
- +
-  - ทรงจำสูตรครบ พรรษาครบ ไม่ไปอยู่กับผู้ทรงจำพระไตรปิฎกได้ไหม?​ +
-  - ถ้าไม่ทรงจำเป็นบาลี ทำให้ใช้หลักบาลี-เนตติ-อภิธรรม มาวินิจฉัยไม่ได้ ใช่ไหม?​ +
-  - ในบาลี เฉพาะอรรถกถาที่แปลเป็นสิงหลใช่ไหม?​ +
-  - ตำราแปลเป็นภาษาอื่น ที่ไม่ใช่บาลีจัดเป็นอรรถกถาใช่ไหม?​ +
-  - แปลตามหลัก แต่อ่านไม่รู้เรื่อง ไม่แก้ไขได้ไหม?​ +
-  - แปลรู้เรื่องแต่ไม่ตามหลัก ปัญหามีไหม?​ +
- +
-  - คำถามพระสูตร +
- +
-  - ทำไมคาถาเนตติปกรณ์แปลแล้วมักอ่านไม่รู้เรื่อง?​ +
-  - ไม่ท่องจำเนตติปกรณ์นิเทส,​ ปฏิสัมภิทามรรคมาติกา,​ สุตมยญาณนิทเทส,​ ภูมิ 6 เสียหายต่อการปฏิบัติอย่างไร?​ +
-  - ทำไมเนตติปกรณ์จึงไม่ขึ้นสู่สังคายนา?​ +
- +
-  - คำถามอภิธรรม +
- +
-  - อภิธรรมเป็นวิปัสสนาเพราะอะไร?​ +
-  - ตามอรรถกถาแล้ว ใครแต่งพระอภิธรรม?​ +
-  - ทำไมพระอภิธรรมจึงจัดเป็นพระพุทธพจน์?​ +
-  - คำว่า “จิตไม่ใช่วิญญาณ” ถูกได้อย่างไร?​ +
- +
-  - ท่องจำอะไรก่อนหลัง?​  +
- +
-  - ในกรณีที่มีอาจารย์กรรมฐานที่มี[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584_%25E0%25B8%2589%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2599_%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2588%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2589%25E0%25B8%2597_%25E0%25B9%2593_%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%23%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542343000&​amp;​usg=AOvVaw22m55AYuqaFQCoobxt08TA|คุณสมบัติ]] คือ ทั้งบรรลุธรรม ได้ฌาน ได้อภิญญา ได้วิปัสสนาญาณ ได้มรรคผล และทั้ง[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D2%26i%3D406%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%2520%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581,​%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542344000&​amp;​usg=AOvVaw1djp3xhvC5VDbVBiXvIypD|ทรงจำพระไตรปิฎก]]อย่าง[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​seek_th.php?​text%3D%25C7%25D2%25A8%25D8%25A4%25DA%25A4%26book%3D1%26bookZ%3D55&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542344000&​amp;​usg=AOvVaw2HPIHU6Q4lrjEl2Gvpxtti|คล่องปาก]]ขึ้นใจ[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​read_th.php?​B%3D11%26A%3D6468%26w%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%2520%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%2520%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B2%2520%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542345000&​amp;​usg=AOvVaw2ype0xXDFrxJx104ReQB_M| ]][[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​read_th.php?​B%3D11%26A%3D6468%26w%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%2520%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%2520%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B2%2520%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542345000&​amp;​usg=AOvVaw2ype0xXDFrxJx104ReQB_M|มุขปาฐะ]]สืบๆ กันมา[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​r.php?​B%3D08%26A%3D1%26h%3D%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A2,​%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25AC,​%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542346000&​amp;​usg=AOvVaw0rYdSKBTB4lOqdX-TMN-Rt|จากรุ่นสู่รุ่น]] เช่น อาจารย์กรรมฐานของวัด [[https://​www.google.com/​url?​q=https://​www.facebook.com/​%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AD%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%258C-%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B0-Pa-Auk-Tawya-1529866767343763/&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542346000&​amp;​usg=AOvVaw3iHu1oM5pyVk1iuW7UtQzL|@pa-auk]] เป็นต้น นั้น:​ +
- +
-  - ท่องจำกรรมฐาน[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​www.blogger.com/​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D19%26i%3D33%26h%3D%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%2586:​%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25BA%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542347000&​amp;​usg=AOvVaw14mgzh2Fv_jjPLZ5SIBFdU|อย่างย่อ]]จากปากพระอาจารย์ผู้มีคุณสมบัติพร้อมนั้น ท่องจำวนไปวนมาซ้ำๆ พร้อมทั้ง[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4_%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%23%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542347000&​amp;​usg=AOvVaw2pc6MulQK156wri_eXvWTD|นำความหมายออกมาจากบทบริกรรม]]ให้ได้ +
- +
-  - ทุกๆ ตัวอักษร (อกฺขรํ ได้ สงฺกาสนา) +
-  - ทุกๆ คำ (ปทํ ได้ ปกาสนา) +
-  - ทุกๆ ประโยค (พฺยญฺชนํ ได้ วิวรณา) +
-  - วิเคราะห์ทุกๆ สภาวะ (นิรุตฺติ ได้ วิภชฺชนา) +
-  - อธิบายบทบริกรรมทุกๆ บทให้ได้ (นิทฺเทโส ได้ อุตฺตานีกมฺมํ) +
-  - อธิบายคำอธิบายนั้นได้ด้วย (อากาโร ได้ ปญฺญตฺติ) +
- +
-  - นำสิ่งที่ท่องจำนี้ไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง +
-  - ถ้าติดขัดตรงไหน หรือ ยังไม่บรรลุ ให้ค่อยๆ ไป[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D19%26i%3D33%26h%3D%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%2586,​%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542348000&​amp;​usg=AOvVaw0u0put5ll7nBfJlkdvvuwG|รับกรรมฐานเพิ่มให้ละเอียดขึ้นๆ]]  +
- +
-  - ถ้าจะศึกษาเอง ไม่กลัวว่าจะตายก่อนบรรลุ และไม่สามารถหาอาจารย์ที่มีคุณสมบัติข้างต้นได้เลย:​ +
- +
-  - พระอรรถกถาจารย์[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​www.blogger.com/​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D25%26i%3D2%26h%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2582%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2,​%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2581:​%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25A8%25E0%25B8%25B6%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A9%25E0%25B8%25B2%2520%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%259B%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2581&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542349000&​amp;​usg=AOvVaw33a3Mgl1LaRQOlxKWC7okE|ให้เริ่ม]]ที่ท่องจำ[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/?​index_25&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542349000&​amp;​usg=AOvVaw1BtvoQ8fMFowcodkvfvEZ7|ขุททกปาฐะบาลีและแปล]] ซึ่งพระอรรถกถาจารย์[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D9%26i%3D1%26p%3D1%26h%3D%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542350000&​amp;​usg=AOvVaw0T0AtTwWPNyWPRyw9lC-8h|ในปฐมสังคายนา]]ล้วน[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B%3D12%26siri%3D32%26h%3D%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2582%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%259B&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542350000&​amp;​usg=AOvVaw3M12EOpuQM2MEY6-d0BpxM|พากันไป]]ฟังคำ[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka_item/​m_siri.php?​B%3D20%26siri%3D13%26h%3D%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2599,​%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25A3&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542350000&​amp;​usg=AOvVaw2Z5P1zS60xgqnFakYtGASE|อธิบายธรรมะ]]จากพระสารีบุตรกันทั้งสิ้น ฉะนั้นจึงต้องท่องจำ[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584_%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584_1%23%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542351000&​amp;​usg=AOvVaw0YYoneraThmsw3GzXRCGGl|มาติกาปฏิสัมภิทามรรค]]และ[[https://​www.google.com/​url?​q=https://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584_%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%2584_1%23%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542351000&​amp;​usg=AOvVaw0rCXnowhnJrGOj679un3Yt|มาติกาสุตมยญาณ]] [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B%3D10%26siri%3D9&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542352000&​amp;​usg=AOvVaw22mudjm7mxgtntk2rKh_Hq|มหาสติปัฏฐานสูตร]] [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​pali_item.php?​book%3D34%26item%3D1%26items%3D15&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542352000&​amp;​usg=AOvVaw1JzT7oSlcnQHD4DHgkqP5V| ]][[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​pali_item.php?​book%3D34%26item%3D1%26items%3D15&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542352000&​amp;​usg=AOvVaw1JzT7oSlcnQHD4DHgkqP5V|อภิธัมมมาติกา]] เนตติปกรณ์[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4_%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%23%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542353000&​amp;​usg=AOvVaw0_f_ZMHABsMOfsz3pAR_8E|สังคหะ-อุทเทส-นิทเทส]] ในกรณีพระภิกษุ เพิ่ม[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.4sacca.com/?​th.i.112&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542353000&​amp;​usg=AOvVaw0V4LkZdreImuX8ePwaehRr|ปาติโมกขอุทเทส]] และการท่องจำตาม[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D2%26i%3D406%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%2520%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581,​%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542354000&​amp;​usg=AOvVaw0GswlHs2C4_Zo39Tg53nFm|หลักสูตรนิสสยมุจจกะ]]เข้าไปด้วย. +
-  - ท่องจำทั้งหมดนั่นโดยเคารพดุจทำกับพระอาจารย์ผู้มีคุณสมบัติพร้อมนั้น ท่องจำวนไปวนมาซ้ำๆ พร้อมทั้ง[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​th.wikisource.org/​wiki/​%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4_%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0-%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%23%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542354000&​amp;​usg=AOvVaw1vGzV5OPm6Co1F74zrQZXv|นำความหมายออกมาจากบทบริกรรม]]ให้ได้ +
- +
-  - ทุกๆ ตัวอักษร (อกฺขรํ ได้ สงฺกาสนา) +
-  - ทุกๆ คำ (ปทํ ได้ ปกาสนา) +
-  - ทุกๆ ประโยค (พฺยญฺชนํ ได้ วิวรณา) +
-  - วิเคราะห์ทุกๆ สภาวะ (นิรุตฺติ ได้ วิภชฺชนา) +
-  - อธิบายบทบริกรรมทุกๆ บทให้ได้ (นิทฺเทโส ได้ อุตฺตานีกมฺมํ) +
-  - อธิบายคำอธิบายนั้นได้ด้วย (อากาโร ได้ ปญฺญตฺติ) +
- +
-  - นำสิ่งที่ท่องจำนี้ไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง +
-  - ถ้าติดขัดตรงไหน หรือ ยังไม่บรรลุ ให้ค่อยๆ ไปดูส่วนของนิทเทสหรือ\\ อรรถกถาของเรื่องนั้นๆ เพิ่ม. +
- +
-ในภิกษุนั้น จะมีอาจารย์กรรมฐานที่มีคุณสมบัติพร้อมหรือไม่มีก็ตาม จะต้องทำตาม[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D2%26i%3D406%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%2520%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581,​%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542355000&​amp;​usg=AOvVaw23Ia-g7NDMDPKotbiU3jSD|หลักสูตรภิกขุนิสสยมุจจกะ]]ให้แตกฉาน ไม่เช่นนั้น[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D4%26i%3D88%26p%3D1%26h%3D%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2581%25E0%25B9%2587%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2588%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2594%25E0%25B9%2589&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542356000&​amp;​usg=AOvVaw2ZKlsZFs3Y5k1NoR5X7B1f|มีอาบัติทุกคืนเมื่ออยู่ปราศจากอุปัชฌาย์]]ผู้มีคุณสมบัติภิกขุปริสูปัฏฐาปกะ. นี้สำหรับวิปัสสนาธุระ ตาม[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D25%26i%3D11%26p%3D1%26h%3D%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%258C%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A2%25E0%25B9%258C,​%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2598%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2588%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2581&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542356000&​amp;​usg=AOvVaw2aiF1ys-oSKfeWI_-bNvm8|จักขุปาลัตเถรวัตถุ]]กล่าวไว้ คือ มีพรรษา 5 พ้นนิสสัยจากอาจารย์แล้ว พระจักขุปาละก็เลือกไปทำวิปัสสนาต่อ โดยมีคุณสมบัติของนิสสยมุจจกะติดตัวไป. +
- +
-ส่วนคันถธุระนั้น ตาม วินย.อ. นั้น[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D1%26i%3D1%26p%3D2%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7,​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%259E,​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542357000&​amp;​usg=AOvVaw1UYC5ah1qPwwyNV0Ri91aB| ]][[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D1%26i%3D1%26p%3D2%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25A7,​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%2593%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%259E,​%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2597%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25B9%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2588%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542357000&​amp;​usg=AOvVaw1UYC5ah1qPwwyNV0Ri91aB|เหมาะสำหรับพระอรหันต์]] หรืออย่างน้อยที่สุดแม้กัลยาณปุถุชนผู้ที่ทำองค์ของนิสสยมุจจกะครบแล้ว ก็มาทำคันถธุระใน[[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b%3D2%26i%3D406%26h%3D%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258F%25E0%25B8%2590%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0,​%25E0%25B9%2583%25E0%25B8%25AB%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25B3%25E0%25B8%258A%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%2520%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2581,​%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B8%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542358000&​amp;​usg=AOvVaw0WQ9axmJBbWM6XKtJE5BF3|หลักสูตรภิกขุปริสูปัฏฐาปกะและภิกขุโนวาทกะ]]ต่อ. +
- +
-  - ศีล  +
- +
-  - คำว่า พรหมจริยะ ในศีล 8 ข้อ 3 เกี่ยวข้องกับคำว่า อริยะ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรอย่างไร?​ เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยข้อว่า “ทำให้สุกกะเคลื่อน ในศีล 8 ผิดศีลหรือไม่?​” อย่างไร?​  +
- +
-  - ศัพท์ควรรู้  +
- +
-  - สุตมยปญฺญา  +
- +
-  - กิจฺจ 5 +
-  - ภาคิยจตุกฺก 4 +
-  - ลกฺขณ 3 +
-  - อริยสจฺจ 4 +
-  - อุคฺคห +
-  - ปริปุจฺฉา +
-  - สวน +
-  - สุต +
-  - อวธาน +
-  - ธารณ +
-  - ปญฺญา +
-  - ปฏิเวธ +
-  - ญาณ +
-  - ญาต +
-  - ชานน +
-  - สุตมยญาณ +
- +
-  - สีลวิสุทฺธิ  +
- +
-  - สีล +
-  - วิสุทฺธิ +
-  - สีลอธิสิกฺขา +
-  - อวีติกฺกมกิเลส +
-  - ปริยุฏฺฐานกิเลส +
-  - อนุสยกิเลส +
-  - กมฺมสฺสกตตฺตาโลกิยสัมมาทิฏฐิ +
- +
-  - จิตฺตวิสุทฺธิ  +
- +
-  - จิตฺต +
-  - จิตฺตอธิสิกฺขา +
-  - สมาธิ +
-  - ฌาน +
-  - ขณิกสมาธิ +
-  - ภาวนา +
-  - สงฺวริตฺวา สมาทหเน ปญฺญา สมาธิภาวนามยญาณํ +
-  - อุปจารสมาธิ +
-  - อัปปนาสมาธิ +
-  - โลกิยสัมมาทิฏฐิ +
-  - นิมิตฺต +
-  - ปริกมฺมนิมิตฺต +
-  - อุคฺคหนิมิตฺต +
-  - ปฏิภาคนิมิตฺต +
-  - ปรมตฺถ +
-  - ปญฺญตฺติ +
-  - อตฺถปญฺญตฺติ +
-  - สทฺทปญฺญตฺติ +
-  - วิชฺชมานปญฺญตฺติ +
-  - อวิชฺชมานปญฺญตฺติ +
-  - จิตฺตวาร +
- +
-  - ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ  +
- +
-  - อภิญฺญาต +
-  - จกฺขุ +
-  - ปจฺจกฺข +
-  - ปากฏ +
-  - ปสฺสติ +
-  - ปสฺสนา +
-  - ทสฺสน +
-  - ทิฏฺฐิ +
-  - ปริคฺคห +
-  - ปสฺสติ +
-  - ววตฺถาน +
-  - ปชานาติ +
-  - วิปสฺสนา +
-  - สมฺมาทสฺสน +
-  - สมฺมาทิฏฺฐิ +
-  - วิปัสสนาโลกิยสัมมาทิฏฐิ +
-  - นามรูปปริจฺเฉทญาณ +
-  - ปจฺจตฺตลกฺขณ +
-  - กิจรส +
-  - สมฺปตฺติรส +
-  - อุปฏฺฐานปจฺจุปฺปฏฺฐาน +
-  - ผลปจฺจุปฺปฏฺฐาน +
-  - ปจฺจุปฺปฏฺฐาน +
-  - ปทฏฺฐาน +
-  - ปากฏ +
-  - กลาปสมูหฆนอตฺถปญฺญตฺติ +
-  - สมาทหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ +
-  - ภูต +
-  - ยถาภูต +
-  - ปฏิจฺจ +
-  - สงฺขาร +
-  - สงฺขต +
-  - สงฺขารสงฺขต +
-  - สงฺขารขนฺธ +
-  - สงฺขารปฏิจฺจสมุปฺบาท +
-  - ภาวนาสงฺขาร +
-  - ปฏิจฺจสมุปฺปาท ปฏิจฺจสมุปฺปนฺน +
-  - อตฺตา +
-  - อตฺตาอนุทิฏฺฐิ +
- +
-  - กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ  +
- +
-  - ปฏิจฺจสมุปปาท +
-  - ปจฺจยปริคฺคหญาณ +
-  - ธมฺมฏฺฐิติญาณ +
-  - ยถาภูตญาณ +
-  - ตถตาญาณ +
-  - อวิตถตาญาณ +
-  - อภิญฺญาตญาณ +
-  - ญาตปริญฺญา +
-  - ติลกฺขณอาการสนฺตติฆนปญฺญตฺติ +
- +
-  - กลาปสมฺมสนญาณ  +
- +
-  - สาธารณปจฺจตลกฺขณ +
-  - ววตฺถาน +
-  - สมฺมสน +
- +
-  - มคฺคามคฺคญาณทสฺสนวิสุทฺธิ  +
- +
-  - อนุปสฺสติ +
-  - อนุปสฺสนา +
-  - อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ +
-  - ตรุณวิปสฺสนาญาณ +
-  - วิปสฺสนูปกิเลสปริยุฏฺฐาน +
-  - พลววิปสฺสนาสมาธิ +
-  - อนุสยกิเลส +
-  - พลววิปสฺสนาอุทยพฺพยญาณ +
-  - ตีรณปริญฺญา +
- +
-  - ปฏิปทาญาณทสฺสนวิสุทฺธิ  +
- +
-  - ฆนวินิพฺโภค +
-  - วิปสฺสนาญาณ +
-  - ภงฺคอนุปสฺสนาญาณ +
-  - ปฏิสงฺขา +
-  - จตุสมฺปชญฺญ +
- +
-  - ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ  +
- +
-  - อัปปนาโลกุตตรสัมมาทิฏฐิ +
-  - ปหานปริญฺญา +
-  - ปฏิสมฺภิทา +
- +
-  - [[https://​www.google.com/​url?​q=http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​pali_read.php?​B%3D31%26A%3D1%26w%3D%26modeTY%3D2%26pagebreak%3D&​amp;​sa=D&​amp;​ust=1598324542368000&​amp;​usg=AOvVaw3EOnmfvO97trPfVPZtdPTx|ปฏิสมฺภิทามคฺค]] +
-  - เตวิชฺโช +
-  - อภิญฺญา +
-  - ฉฬภิญฺโญ +
-  - ปฏิสมฺภิทปฺปตฺโต +