อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
Next revision Both sides next revision
อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/06/27 22:23]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/08/19 08:36]
dhamma
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
 ในข้อนั้น มีเรื่องสาธกดังต่อไปนี้. ในข้อนั้น มีเรื่องสาธกดังต่อไปนี้.
  
-====เรื่องลูกนกแขกเต้า====+==เรื่องลูกนกแขกเต้า==
  
 เขาเล่าว่า นักฟ้อนรำผู้หนึ่งจับลูกนกแขกเต้าได้ตัวหนึ่ง ฝึกสอนมันพูดภาษาคน (ตัวเองเที่ยวไปแสดงการฟ้อนรำในที่อื่นๆ).นักฟ้อนรำผู้นั้นอาศัยสำนักของนางภิกษุณีอยู่ เวลาไปในที่อื่นๆ ลืมลูกนกแขกเต้าเสียสนิทแล้วไป. เหล่าสามเณรีก็จับมันมาเลี้ยงตั้งชื่อมันว่า พุทธรักขิต. เขาเล่าว่า นักฟ้อนรำผู้หนึ่งจับลูกนกแขกเต้าได้ตัวหนึ่ง ฝึกสอนมันพูดภาษาคน (ตัวเองเที่ยวไปแสดงการฟ้อนรำในที่อื่นๆ).นักฟ้อนรำผู้นั้นอาศัยสำนักของนางภิกษุณีอยู่ เวลาไปในที่อื่นๆ ลืมลูกนกแขกเต้าเสียสนิทแล้วไป. เหล่าสามเณรีก็จับมันมาเลี้ยงตั้งชื่อมันว่า พุทธรักขิต.
บรรทัด 46: บรรทัด 46:
 อยนะ นาวา อุตตรเสตุ กุลละ ภิสิสังกมะ อยนะ นาวา อุตตรเสตุ กุลละ ภิสิสังกมะ
  
-ทางนี้นั้น ในที่นี้ ท่านกล่าวโดยชื่อว่า อยนะ เพราะฉะนั้น ในข้อที่ว่า +ทางนี้นั้น ในที่นี้ ท่านกล่าวโดยชื่อว่า อยนะ เพราะฉะนั้น ในข้อที่ว่า ​"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นทางเดียว" ​นี้ จึงควรเห็นความอย่างนี้ว่า ​"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นทางเอก มิใช่ทางสองแพร่ง" ดังนี้.
- +
-ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นทางเดียวนี้ +
- +
-จึงควรเห็นความอย่างนี้ว่า +
- +
-ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นทางเอก มิใช่ทางสองแพร่ง.+
  
 อีกนัยหนึ่ง ชื่อว่า เอกายนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นทางที่บุคคลพึงไปผู้เดียว. คำว่า ผู้เดียว คือคนที่ละการคลุกคลีด้วยหมู่ ปลีกตัวไปสงบสงัด. ข้อว่า พึงไป คือพึงดำเนินไป. อีกนัยหนึ่ง ชื่อว่า เอกายนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นทางที่บุคคลพึงไปผู้เดียว. คำว่า ผู้เดียว คือคนที่ละการคลุกคลีด้วยหมู่ ปลีกตัวไปสงบสงัด. ข้อว่า พึงไป คือพึงดำเนินไป.
บรรทัด 110: บรรทัด 104:
 เป็นความจริง ในที่นี้ ท่านประสงค์เอาแต่มรรคที่มีสติปัฏฐานเป็นส่วนเบื้องต้น ซึ่งเป็นไปโดยอารมณ์ 4 มีกายเป็นต้น. มิได้ประสงค์เอามรรคที่เป็นโลกุตตระ. ด้วยว่ามรรคที่เป็นส่วนเบื้องต้นนั้นย่อมดำเนินไปแม้มากครั้ง ทั้งการดำเนินไปของมรรคนั้น ก็มิใช่มีครั้งเดียว. เป็นความจริง ในที่นี้ ท่านประสงค์เอาแต่มรรคที่มีสติปัฏฐานเป็นส่วนเบื้องต้น ซึ่งเป็นไปโดยอารมณ์ 4 มีกายเป็นต้น. มิได้ประสงค์เอามรรคที่เป็นโลกุตตระ. ด้วยว่ามรรคที่เป็นส่วนเบื้องต้นนั้นย่อมดำเนินไปแม้มากครั้ง ทั้งการดำเนินไปของมรรคนั้น ก็มิใช่มีครั้งเดียว.
  
-====ธรรมสากัจฉาของพระมหาเถระ====+==ธรรมสากัจฉาของพระมหาเถระ==
  
 ในข้อนี้ แต่ก่อนพระมหาเถระทั้งหลายก็ได้เคยสนทนากันมาแล้ว. ในข้อนี้ แต่ก่อนพระมหาเถระทั้งหลายก็ได้เคยสนทนากันมาแล้ว.
บรรทัด 180: บรรทัด 174:
 สมจริงดังคำที่กล่าวไว้ว่า สมจริงดังคำที่กล่าวไว้ว่า
  
-รูเปน สงฺกิลิฎฺเฐน ​   สํกิลิสฺสนฺติ มาณวา+<​blockquote> ​    รูเปน สงฺกิลิฎฺเฐน ​   สํกิลิสฺสนฺติ มาณวา
      ​รูเป สุทฺเธ วิสุชฺฌนฺติ ​   อนกฺขาตํ มเหสินา      ​รูเป สุทฺเธ วิสุชฺฌนฺติ ​   อนกฺขาตํ มเหสินา
      ​จิตฺเตน สงฺกิลิฎฺเฐน ​   สํกิลิสฺสนฺติ มาณวา      ​จิตฺเตน สงฺกิลิฎฺเฐน ​   สํกิลิสฺสนฺติ มาณวา
-     ​จิตฺเต สุทฺเธ วิสุชฺฌนฺติ ​   อิติ วุตฺตํ มเหสินา. +     ​จิตฺเต สุทฺเธ วิสุชฺฌนฺติ ​   อิติ วุตฺตํ มเหสินา.</​blockquote>​ 
-               ​พระพุทธเจ้าผู้ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่+<​blockquote> ​              พระพุทธเจ้าผู้ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่
       มิได้ตรัสสอนว่า คนทั้งหลาย มีรูปเศร้าหมองแล้ว       มิได้ตรัสสอนว่า คนทั้งหลาย มีรูปเศร้าหมองแล้ว
       จึงเศร้าหมอง มีรูปหมดจดแล้ว จึงหมดจด       จึงเศร้าหมอง มีรูปหมดจดแล้ว จึงหมดจด
       แต่พระผู้ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ทรงสอนว่า       แต่พระผู้ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ทรงสอนว่า
       คนทั้งหลาย มีจิตเศร้าหมองแล้ว จึงเศร้าหมอง       คนทั้งหลาย มีจิตเศร้าหมองแล้ว จึงเศร้าหมอง
-      มีจิตหมดจดแล้ว จึงหมดจด ดังนี้. ​              ​+      มีจิตหมดจดแล้ว จึงหมดจด ดังนี้. ​       </​blockquote> ​      
  
 เหมือนอย่างที่ตรัสไว้ (ในสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค) ว่า เหมือนอย่างที่ตรัสไว้ (ในสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค) ว่า
บรรทัด 205: บรรทัด 199:
 แท้จริง สันตติมหาอำมาตย์ฟังคาถาที่ว่า แท้จริง สันตติมหาอำมาตย์ฟังคาถาที่ว่า
  
-ยํ ปุพฺเพ ตํ วิโสเธหิ ​   ปจฺฉา เต มาหุ กิญฺจนํ+     ยํ ปุพฺเพ ตํ วิโสเธหิ ​   ปจฺฉา เต มาหุ กิญฺจนํ
      ​มชฺเฌ เจ โน คเหสฺสสิ ​   อุปสนฺโต จริสฺสสิ      ​มชฺเฌ เจ โน คเหสฺสสิ ​   อุปสนฺโต จริสฺสสิ
                ​ท่านจงทำความโศกในกาลก่อนให้เหือดแห้ง                ​ท่านจงทำความโศกในกาลก่อนให้เหือดแห้ง
       ท่านอย่ามีความกังวลใจ ในกาลภายหลัง ถ้าท่านจัก       ท่านอย่ามีความกังวลใจ ในกาลภายหลัง ถ้าท่านจัก
-     ​ไม่ยึดถือในท่ามกลางก็จักเป็นผู้สงบเที่ยวไป ดังนี้. ​              ​แล้วก็บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา.+     ​ไม่ยึดถือในท่ามกลางก็จักเป็นผู้สงบเที่ยวไป ดังนี้. ​               
 +      
 +แล้วก็บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา.
  
 นางปฏาจาราฟังพระคาถานี้ว่า นางปฏาจาราฟังพระคาถานี้ว่า
  
-น สนฺติ ปุตฺตา ตาณาย ​   น ปิตา นปิ พนฺธวา+     น สนฺติ ปุตฺตา ตาณาย ​   น ปิตา นปิ พนฺธวา
      ​อนฺตเกนาธิปนฺนสฺส ​   นตฺถิ ญาตีสุ ตาณตา      ​อนฺตเกนาธิปนฺนสฺส ​   นตฺถิ ญาตีสุ ตาณตา
                ​มีบุตรไว้เพื่อช่วยก็ไม่ได้ บิดาก็ไม่ได้                ​มีบุตรไว้เพื่อช่วยก็ไม่ได้ บิดาก็ไม่ได้
บรรทัด 710: บรรทัด 706:
 =อ.คำอธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน= =อ.คำอธิบายคำบริกรรมกรรมฐาน=
  
-==อ.กายานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==อ.กายานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 ===อ.อานาปานบรรพ=== ===อ.อานาปานบรรพ===
บรรทัด 1053: บรรทัด 1049:
  
  
-==อ.เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==อ.เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 วิธีอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 14 วิธีอย่างนี้แล้ว
บรรทัด 1131: บรรทัด 1127:
  
  
-==อ.จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==อ.จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน 9 วิธี อย่างนี้แล้วบัดนี้ เพื่อจะตรัสจิตตานุปัสสนา 16 วิธี จึงตรัสว่า กถญฺจ ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตตานุปัสสนาเป็นอย่างไรเล่า เป็นต้น. พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน 9 วิธี อย่างนี้แล้วบัดนี้ เพื่อจะตรัสจิตตานุปัสสนา 16 วิธี จึงตรัสว่า กถญฺจ ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตตานุปัสสนาเป็นอย่างไรเล่า เป็นต้น.
บรรทัด 1189: บรรทัด 1185:
  
  
-==อ.ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส'''​=+==อ.ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานนิทเทส==
  
 พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน 16 วิธี อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อจะตรัสธัมมานุปัสสนา 5 วิธี จึงตรัสว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นตรัสจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน 16 วิธี อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เพื่อจะตรัสธัมมานุปัสสนา 5 วิธี จึงตรัสว่า