วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

ลิงค์ไปยังการเปรียบเทียบนี้

การแก้ไขก่อนหน้าทั้งสองฝั่ง การแก้ไขก่อนหน้า
การแก้ไขถัดไป
การแก้ไขก่อนหน้า
วิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2020/08/14 08:22] dhammaวิสุทธิมรรค_20_มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส [2021/01/02 13:14] (ฉบับปัจจุบัน) – แก้ไขภายนอก 127.0.0.1
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>วสธมฉปส sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
-=ปริจเฉทที่  20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส=+'''ปริจเฉทที่  20 มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส'''
  
 '''แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า เป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก''' '''แสดงบรรยายความบริสุทธิ์ของความรู้และความเห็นว่า เป็นทางปฏิบัติที่ถูกและไม่ถูก'''
  
-==สัมมสนญาณกถา==+=สัมมสนญาณกถา=
  
 <sub><fs smaller>''(หน้าที่  268)''</fs></sub> <sub><fs smaller>''(หน้าที่  268)''</fs></sub>
บรรทัด 260: บรรทัด 260:
 นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น  ก็เช่นเดียวกันนี้ นัยในขันธ์ทั้งหลายอื่นมีเวทนาเป็นต้น  ก็เช่นเดียวกันนี้
  
-===อนุปัสสนาขันธ์ 5  โดยอาการ 40===+==อนุปัสสนาขันธ์ 5  โดยอาการ 40==
  
 เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้  (คือสัมมสนญาณ)  โดยความไม่เที่ยง  เป็นทุกข์  และไม่มีอัตตา  ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา)  นั้นนั่นแล  มีความมั่นคง  โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น  โดยประเภท  ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้  (แปความ)  ว่า  "พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ  (ญาณ)  อันเป็นอนุโลม  โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ)  ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม  โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง"  ดังนี้ เพื่อมุ่งหมายให้การกำหนดรู้  (คือสัมมสนญาณ)  โดยความไม่เที่ยง  เป็นทุกข์  และไม่มีอัตตา  ในขันธ์ 5  (ตามที่กล่าวมา)  นั้นนั่นแล  มีความมั่นคง  โยคาวจรนั้นจึงกำหนดรู้ขันธ์ 5  ทั้งหลายเหล่านี้ด้วยการกำหนดรู้โดยความไม่เที่ยงเป็นต้นแม้นั้น  โดยประเภท  ซึ่งกล่าวไว้ในวิภังค์แห่งพระบาลีนี้  (แปความ)  ว่า  "พระภิกษุได้เฉพาะซึ่งขันติ  (ญาณ)  อันเป็นอนุโลม  โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง ?  (พระภิกษุ)  ก้าวลงสู่สัมมัตตนิยาม  โดยอาการ 40  อย่างไรบ้าง"  ดังนี้
บรรทัด 482: บรรทัด 482:
 <sub><fs smaller>''(หน้าที่  285)''</fs></sub> <sub><fs smaller>''(หน้าที่  285)''</fs></sub>
  
-===ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9===+==ทำอินทรีย์ให้แก่กล้าด้วยอาการ 9==
  
 แต่ทว่า  โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย  นยวิปัสสนา  ดังกล่าวมานั้น  นยวิปัสสนา  ไม่ถึงพร้อม  (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด)  โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น)  ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง  ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า  "อินทรีย์ทั้งหลาย  (มีศรัทธาเป็นต้น)  จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ แต่ทว่า  โยคีผู้ใดเมื่อทำโยคะโดย  นยวิปัสสนา  ดังกล่าวมานั้น  นยวิปัสสนา  ไม่ถึงพร้อม  (คืออุทยพยญาณยังไม่เกิด)  โยคีผู้นั้นพึงทำอินทรีย์ (5  มีศรัทธาเป็นต้น)  ให้แกกล้าด้วยอาการ 9  อย่าง  ที่ท่านกล่าวไว้อย่างนี้ว่า  "อินทรีย์ทั้งหลาย  (มีศรัทธาเป็นต้น)  จะแก่กล้าด้วยอาการ 9  คือ
บรรทัด 508: บรรทัด 508:
 <sub><fs smaller>''(หน้าที่  286)''</fs></sub> <sub><fs smaller>''(หน้าที่  286)''</fs></sub>
  
-====วิธีเห็นนิพพัตติของรูป====+===วิธีเห็นนิพพัตติของรูป===
 '''การณะ 4''' '''การณะ 4'''
  
บรรทัด 687: บรรทัด 687:
 ความจริง  โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้  ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล  (คือ  ในเวลาหนึ่ง) ความจริง  โยคาวจรเมื่อเห็นซึ่งความเกิดของรูปด้วยอาการดังกล่าวมานี้  ก็ชื่อว่ากำหนดรู้รูปตามกาล  (คือ  ในเวลาหนึ่ง)
  
-====วิธีเห็นนิพพัตติของอรูป====+===วิธีเห็นนิพพัตติของอรูป===
  
 อนึ่ง  เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่  ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย  ฉันใด  แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่  ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย  ฉันนั้น  และความเกิดของอรูปนั้น  พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง  เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้  ความจริงที่เรียกว่า  อรูปนี้  ก็คือ  จิตตุปบาท 19  ประเภท  เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน  แต่อาการเกิดของอรูปนั้น  พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง อนึ่ง  เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้รูปอยู่  ก็พึงเห็นความเกิดของรูปด้วย  ฉันใด  แม้เมื่อโยคาวจรกำหนดรู้อรูปอยู่  ก็พึงเห็นความเกิดของอรูปไปด้วย  ฉันนั้น  และความเกิดของอรูปนั้น  พึงเห็นโดยทางจิตตุปบาทฝ่ายโลกิยะ 81  ดวงนั่นเอง  เช่นตัวอย่างดังต่อไปนี้  ความจริงที่เรียกว่า  อรูปนี้  ก็คือ  จิตตุปบาท 19  ประเภท  เกิดขึ้นก่อนในปฏิสนธิด้วยกรรมที่ประมวลไว้ในภพก่อน  แต่อาการเกิดของอรูปนั้น  พึงทราบตามนัยดังกล่าวไว้แล้วในนิทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง
บรรทัด 705: บรรทัด 705:
 โยคาวจรท่านหนึ่ง  แม้กำหนดรู้รูปตามกาล  (ในเวลาหนึ่ง)  (ด้วยสัมมสนญาณ)  โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว  ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ  (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป)  ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้ โยคาวจรท่านหนึ่ง  แม้กำหนดรู้รูปตามกาล  (ในเวลาหนึ่ง)  (ด้วยสัมมสนญาณ)  โดยอาการดังกล่าวนี้แล้ว  ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ปฏิบัติอยู่โดยลำดับ  (จนบรรลุอุทยพญสณขึ้นไป)  ก็ทำปัญญาภาวนาให้ถึงพร้อมได้
  
-====สัมมสนะรูป 7 วิธี====+===สัมมสนะรูป 7 วิธี===
  
 โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย  (ด้วยสัมมสนญาณ)  โดยทาง  รูปสัตตกะ  (คือ  มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป)  และทาง  อรูปสัตตกะ  (คือ  มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป) โยคาวจรอีกท่านหนึ่งยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้วกำหนดรู้สังขารทั้งหลาย  (ด้วยสัมมสนญาณ)  โดยทาง  รูปสัตตกะ  (คือ  มนสิการโดยอาการ 7  ในรูป)  และทาง  อรูปสัตตกะ  (คือ  มนสิการโดยอาการ 7 ในอรูป)
บรรทัด 1059: บรรทัด 1059:
 <sub><fs smaller>''(หน้าที่  309)''</fs></sub> <sub><fs smaller>''(หน้าที่  309)''</fs></sub>
  
-====สัมมสนะอรูป 7 วิธี====+===สัมมสนะอรูป 7 วิธี===
  
 อนึ่ง  คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว  (ข้างต้น)  ว่า  "ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว  กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย)  โดยทาง  อรูปสัตตกะ"  ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ อนึ่ง  คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้ว  (ข้างต้น)  ว่า  "ยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์แล้ว  กำหนดรู้สังขารทั้งหลาย)  โดยทาง  อรูปสัตตกะ"  ในคำนั้นมีมาติกาดังนี้ คือ
บรรทัด 1233: บรรทัด 1233:
 ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ  (จากที่กล่าวถึงนี้  อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น)  บางญาณก็แทงทะลุ  (โดยเอกเทศ)  แล้ว  บางญาณก็มิได้แทงทะลุ  เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า  เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า  "โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้  เมื่อแทงตลอด  (รู้แจ้ง)  เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน  แต่เพียงเอกเทศของ  มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ  ปหานปริญญา  เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ  (โดยลำดับ)  ขึ้นไป  ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ  มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้"  นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ  ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง ในวิปัสสนาญาณทั้งหลายที่เหลือ  (จากที่กล่าวถึงนี้  อีก 10  มีนิพพิทานุปัสสนาเป็นต้น)  บางญาณก็แทงทะลุ  (โดยเอกเทศ)  แล้ว  บางญาณก็มิได้แทงทะลุ  เราจักทำการจำแนกวิปัสสนาญาณทั้งหลายเหล่านั้นให้แจ่มแจ้งข้างหน้า  เพราะคำว่าที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วว่า  "โยคีท่านนั้นเป็นผู้มีทั้งรูปกัมมัฏฐานและอรูปกัมมัฏฐานคล่องแคล่วอย่างนี้  เมื่อแทงตลอด  (รู้แจ้ง)  เฉพาะ ณ  ที่นี้ก่อน  แต่เพียงเอกเทศของ  มหาวิปัสสนา 18  ที่ตนพึงบรรลุโดยอาการทั้งปวงด้วยสามารถ  ปหานปริญญา  เริ่มต้นแต่ภังคานุปัสสนาญาณ  (โดยลำดับ)  ขึ้นไป  ก็ละธรรมซึ่งเป็นปฏิปักษ์ของ  มหาวิปัสสนา 18  นั้นได้"  นี้ข้าพเจ้าหมายถึงวิปัสสนาญาณ  ซึ่งโยคีท่านนี้แทงตลอดแล้วนั่นเอง
  
-==อุทยพยญาณ==+=อุทยพยญาณ=
  
-===ตรุณอุทยพญาณ===+==ตรุณอุทยพญาณ==
  
 '''[อุทยพยญาณอย่างอ่อน]''' '''[อุทยพยญาณอย่างอ่อน]'''
บรรทัด 1315: บรรทัด 1315:
 ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้  เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว  ซึ่ง  ตรุณวิปัสสนาญาณ  (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน)  อันดับแรก  มีชื่อว่า  อุทยพยานุปัสสนาญาณ  (อย่างอ่อน)  ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน  50  โดอาการนี้ว่า  "สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น  และที่เกิดขึ้นแล้ว  ก็ถึงความดับไป"  ดังนี้  ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ  (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้)  โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า  "อารทฺธวิปสฺสโก  -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา" ด้วยภาวนาวิธีเท่าที่กล่าวมานี้  เป็นอันว่าโยคีท่านนี้ได้บรรลุแล้ว  ซึ่ง  ตรุณวิปัสสนาญาณ  (วิปัสสนาญาณอย่างอ่อน)  อันดับแรก  มีชื่อว่า  อุทยพยานุปัสสนาญาณ  (อย่างอ่อน)  ซึ่งแทงตลอดลักษณะครบถ้วน  50  โดอาการนี้ว่า  "สิ่งที่มีความดับไปเป็นธรรมดานั่นเองเกิดขึ้น  และที่เกิดขึ้นแล้ว  ก็ถึงความดับไป"  ดังนี้  ซึ่งโดยเหตุที่ได้บรรลุ  (ตรุณวิปัสสนาญาณนี้)  โยคีท่านนั้นก็ถึงการนับว่า  "อารทฺธวิปสฺสโก  -  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา"
  
-====วิปัสสนูปกิเลส  10====+===วิปัสสนูปกิเลส  10===
  
 '''ในระยะนั้น  ด้วยตรุณวิปัสสนานี้  วิปัสสนูปกิเลส  สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง)  ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา  ความจริง  วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่''' '''ในระยะนั้น  ด้วยตรุณวิปัสสนานี้  วิปัสสนูปกิเลส  สิ่งที่ทำให้วิปัสสนาหม่นหมอง)  ก็เกิดขึ้นแก่โยคีนั้น  ผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนา  ความจริง  วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่'''
บรรทัด 1485: บรรทัด 1485:
 <sub><fs smaller>''(หน้าที่ 330)''</fs></sub> <sub><fs smaller>''(หน้าที่ 330)''</fs></sub>
  
-===พลววิปัสสนา===+==พลววิปัสสนา==
  
 แต่โยคาวจรผู้ฉลาด  ผู้เป็นบัณฑิต  เฉียบแหลม  ถึงพร้อมด้วยความรู้  เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น  ก็กำหนดรู้  ใคร่ครวญเห็นมัน  ด้วยปัญญาดังนี้ว่า  "โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว  แต่โอภาสนี้นั้นแล  ไม่เที่ยง  ปัจจัยปรุงแต่งไว้  อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น  มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา  มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา  มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา  มีความดับไปเป็นธรรมดา"  ด้วยประการฉะนี้บ้าง  ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า  "ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้  การถือ  (โอภาสนั้น)  ว่า  "อัตตา"  ก็ควร  แต่โอภาสนี้  มิใช่อัตตาเลย  ถือว่า  "เป็นอัตตา"  เพราะฉะนั้น  โอภาสนั้นเป็นอนัตตา  โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ  เป็นอนิจจัง  โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่  เป็นทุกขัง  โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ"  ดังนี้ แต่โยคาวจรผู้ฉลาด  ผู้เป็นบัณฑิต  เฉียบแหลม  ถึงพร้อมด้วยความรู้  เมื่ออุปกิเลสทั้งหลายมีโอภาสเป็นต้นเกิดขึ้น  ก็กำหนดรู้  ใคร่ครวญเห็นมัน  ด้วยปัญญาดังนี้ว่า  "โอภาสนี้แลเกิดขึ้นแก่เราแล้ว  แต่โอภาสนี้นั้นแล  ไม่เที่ยง  ปัจจัยปรุงแต่งไว้  อาศัยปัจจัยเกิดขึ้น  มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา  มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา  มีความคลายราคะไปเป็นธรรมดา  มีความดับไปเป็นธรรมดา"  ด้วยประการฉะนี้บ้าง  ก็หรือว่าโยคาวจรนั้นมีความคิดในขณะนั้นอย่างนี้ว่า  "ถ้าโอภาสนี้พึงเป็นอัตตาไซร้  การถือ  (โอภาสนั้น)  ว่า  "อัตตา"  ก็ควร  แต่โอภาสนี้  มิใช่อัตตาเลย  ถือว่า  "เป็นอัตตา"  เพราะฉะนั้น  โอภาสนั้นเป็นอนัตตา  โดยความหมายว่าไม่เป็นไปในอำนาจ  เป็นอนิจจัง  โดยความหมายว่ามีแล้วหามีไม่  เป็นทุกขัง  โดยความหมายว่าเบียดเบียนเฉพาะหน้าด้วยความเกิดและความดับ"  ดังนี้