วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
 '''​ปริจเฉทที่ ​ 17  ปัญญาภูมินิทเทส'''​ '''​ปริจเฉทที่ ​ 17  ปัญญาภูมินิทเทส'''​
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
 ==ปัจจยสูตร== ==ปัจจยสูตร==
 ===ปฏิจจสมุปบาท=== ===ปฏิจจสมุปบาท===
-ในธรรมสองอย่างนั้น ​ ธรรมทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้น ​ พึงทราบว่า ​ ชื่อปฏิจจสมุปบทาเป็นอันดับแรก ​ จริงอยู่ ​ คำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าได้[http://www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&siri=16 ตรัสไว้ว่า] ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นอย่างไร ​ ดูกรภิกษุทั้งหลาย+ในธรรมสองอย่างนั้น ​ ธรรมทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้น ​ พึงทราบว่า ​ ชื่อปฏิจจสมุปบทาเป็นอันดับแรก ​ จริงอยู่ ​ คำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าได้[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=10&siri=ตรัสไว้ว่า] ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ ก็ปฏิจจสมุปบาทเป็นอย่างไร ​ ดูกรภิกษุทั้งหลาย
  
 สังขารทั้งหลาย ​   มีเพราะปัจจัยคือ ​   อวิชชา สังขารทั้งหลาย ​   มีเพราะปัจจัยคือ ​   อวิชชา
บรรทัด 65: บรรทัด 65:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 130)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 130)''</​fs></​sub>​
  
-'''​ค้านความหมายปฏิจจสมุปบาทในลัทธิเดียรถีย์'''​+===ค้านปฏิจจสมุปบาทในลัทธิเดียรถีย์===
  
-เจ้าลัทธิบางพวกกล่าวกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ  ไม่มีเหตุ) ​ ว่าเป็นปฏิจจสมุปบาท ​ โดยนัยดังนี้ว่า ​ "​ความอิง ​ (สิ่งต่าง ๆ)  เกิดขึ้น ​ และเกิดขึ้นอย่างถูกต้องด้วย ​ (โดย) ​ ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุ ​ เช่นความเกิดแห่งปกติ ​ (ประพฤติ – มูลเดิม) ​ และปุริส ​ (อาตมัน) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งเดียรถีย์กำหนดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ คำของเจ้าลัทธินั้นไม่ชอบ ​ เพราะอะไร ?  ​เพราะไม่มีพระสูตร ​ (อ้าง) ​ เพราะผิดต่อพระสูตร ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ และเพราะเป็นสัททเภท ​ (ศัพท์แตก) ​ ด้วย  ​+เจ้าลัทธิบางพวกกล่าวกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ  ไม่มีเหตุ) ​ ว่าเป็นปฏิจจสมุปบาท ​ โดยนัยดังนี้ว่า ​ "​ความอิง ​ (สิ่งต่าง ๆ)  เกิดขึ้น ​ และเกิดขึ้นอย่างถูกต้องด้วย ​ (โดย) ​ ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุ ​ เช่นความเกิดแห่งปกติ ​ (ประพฤติ – มูลเดิม) ​ และปุริส ​ (อาตมัน) ​ เป็นต้น ​ ซึ่งเดียรถีย์กำหนดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ คำของเจ้าลัทธินั้นไม่ชอบ ​ เพราะอะไร ? 
  
-'''​ไม่มีพระสูตรอ้างและผิดต่อพระสูตร'''​+# เพราะไม่มีพระสูตร ​ (อ้าง)   
 +# เพราะผิดต่อพระสูตร ​  
 +# เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ และ 
 +# เพราะทำลายหลักภาษา (สัททเภท) ​  
 + 
 +====ไม่มีพระสูตรอ้าง====
  
 จริงอยู่ ​ พระสูตรว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (ไม่มีเหตุ) ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ดังนี้หามีไม่ ​ และความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ (พระสูตรที่กล่าวถึงปเทสวิหารธรรม) ​ ก็ต้อง ​ (มี) ​ ก็ผู้ที่กล่าวว่า ​ กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นนั้นชื่อว่าปฏิจจสมุปบาทเป็นปฐมาภิสัมพุทธวิหาร ​ (วิหารธรรมเมื่อแรกตรัสรู้) ​ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ​ โดยบาลีว่า ​ "​ครั้งนั้นแล ​ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาททั้งอนุโลมและปฏิโลมตลอดปฐมยามแห่งราตรี" ​ ดังนี้ ​ เป็นอาทิ ​ อนึ่ง ​ วิหารธรรมเป็นส่วนหนึ่งปฏจจสมุปบาทนั้น ​ ชื่อว่าปเทสวิหารธรรม ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ เรานั้นแรกตรัสรู้ ​ พักผ่อนอยู่ด้วยวิหารธรรมใด ​ เราพักผ่อนอยู่แล้วด้วยปเทส ​ (ส่วนหนึ่ง) ​ แห่งวิหารธรรมนั้น" ​ ก็แลพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพักผ่อนอยู่ในปเทสวิหารธรรมนั้น ​ ก็โดยทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูปัจจยาการ ​ (อาการแห่งปัจจยธรรม) ​ หาใช่ทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูกิริยาจักว่าความเกิดขึ้นไม่แล ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​เรานั้นรู้ทั่วถึงอย่างนี้ว่า ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือมิจฉาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือสัมมาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยมิจฉาสังกัปปะก็มี ​ ดังนี้เป็นต้น ​ คำบาลีทั้งปวงบัณฑิตพึง ​ (นำมากล่าว) ​ ให้พิสดารเถิด ​ ความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู่กล่าวว่ากิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้ จริงอยู่ ​ พระสูตรว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (ไม่มีเหตุ) ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ดังนี้หามีไม่ ​ และความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ (พระสูตรที่กล่าวถึงปเทสวิหารธรรม) ​ ก็ต้อง ​ (มี) ​ ก็ผู้ที่กล่าวว่า ​ กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นนั้นชื่อว่าปฏิจจสมุปบาทเป็นปฐมาภิสัมพุทธวิหาร ​ (วิหารธรรมเมื่อแรกตรัสรู้) ​ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ​ โดยบาลีว่า ​ "​ครั้งนั้นแล ​ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาททั้งอนุโลมและปฏิโลมตลอดปฐมยามแห่งราตรี" ​ ดังนี้ ​ เป็นอาทิ ​ อนึ่ง ​ วิหารธรรมเป็นส่วนหนึ่งปฏจจสมุปบาทนั้น ​ ชื่อว่าปเทสวิหารธรรม ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ เรานั้นแรกตรัสรู้ ​ พักผ่อนอยู่ด้วยวิหารธรรมใด ​ เราพักผ่อนอยู่แล้วด้วยปเทส ​ (ส่วนหนึ่ง) ​ แห่งวิหารธรรมนั้น" ​ ก็แลพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพักผ่อนอยู่ในปเทสวิหารธรรมนั้น ​ ก็โดยทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูปัจจยาการ ​ (อาการแห่งปัจจยธรรม) ​ หาใช่ทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูกิริยาจักว่าความเกิดขึ้นไม่แล ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​เรานั้นรู้ทั่วถึงอย่างนี้ว่า ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือมิจฉาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือสัมมาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยมิจฉาสังกัปปะก็มี ​ ดังนี้เป็นต้น ​ คำบาลีทั้งปวงบัณฑิตพึง ​ (นำมากล่าว) ​ ให้พิสดารเถิด ​ ความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู่กล่าวว่ากิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้
 +
 +====ผิดต่อพระสูตร====
  
 นัยเดียวกัน ​ ผิดต่อกัจจานสูตรด้วย ​ จริงอยู่ ​ แม้ในกัจจานสูตรก็กล่าวว่า ​ "​ดูกรกัจจานะ ​ อนึ่ง ​ เมื่อบุคคลเห็นโลกสมุทัย ​ (เหตุเกิดขึ้นแห่งโลก)ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงอยู่ นัยเดียวกัน ​ ผิดต่อกัจจานสูตรด้วย ​ จริงอยู่ ​ แม้ในกัจจานสูตรก็กล่าวว่า ​ "​ดูกรกัจจานะ ​ อนึ่ง ​ เมื่อบุคคลเห็นโลกสมุทัย ​ (เหตุเกิดขึ้นแห่งโลก)ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงอยู่
บรรทัด 79: บรรทัด 86:
 นัตถิตา ​ (ความเห็นว่าไม่มี ​ เห็นว่าขาดสูญ) ​ อันใดในโลก ​ นัตถิตาอันนั้นย่อมไม่มี" ​ ดังนี้ ​ ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายอนุโลม ​ ชื่อว่าโลกสมุทัย ​ เพราะเป็นปัจจัยแห่งโลก ​ เพราะฉะนั้น ​ ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายอนุโลมนั้น ​ จึงเป็นธรรมที่ทรงประกาศเพื่อถอนอุจเฉททิฏฐิ ​ มิใช่ทรงประกาศกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ)  เหตุว่าความถอนอุจเฉททิฏฐิจะมีขึ้นด้วยการ ​ (พิจารณา) ​ เห็นแต่เพียงความเกิดขึ้นหาได้ไม่ ​ แต่ย่อมมีได้ด้วยการ ​ (พิจารณา) ​ เห็นความสืบต่อกันแห่งปัจจัย ​ เพราะความสืบต่อแห่งผลย่อมมีในเพราะความสืบต่อแห่งปัจจัยแล ​ แม้ความผิดต่อกัจจานสูตรก็ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู้กล่าวว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่า ​ ปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้ นัตถิตา ​ (ความเห็นว่าไม่มี ​ เห็นว่าขาดสูญ) ​ อันใดในโลก ​ นัตถิตาอันนั้นย่อมไม่มี" ​ ดังนี้ ​ ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายอนุโลม ​ ชื่อว่าโลกสมุทัย ​ เพราะเป็นปัจจัยแห่งโลก ​ เพราะฉะนั้น ​ ปฏิจจสมุปบาทฝ่ายอนุโลมนั้น ​ จึงเป็นธรรมที่ทรงประกาศเพื่อถอนอุจเฉททิฏฐิ ​ มิใช่ทรงประกาศกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (เฉย ๆ)  เหตุว่าความถอนอุจเฉททิฏฐิจะมีขึ้นด้วยการ ​ (พิจารณา) ​ เห็นแต่เพียงความเกิดขึ้นหาได้ไม่ ​ แต่ย่อมมีได้ด้วยการ ​ (พิจารณา) ​ เห็นความสืบต่อกันแห่งปัจจัย ​ เพราะความสืบต่อแห่งผลย่อมมีในเพราะความสืบต่อแห่งปัจจัยแล ​ แม้ความผิดต่อกัจจานสูตรก็ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู้กล่าวว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่า ​ ปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-==นิทานสูตร== +====ไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย==== 
 +'''​นิทานสูตร'''​
 ข้อว่า ​ '''"​เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย"''' ​ ความว่า ​ ก็แลคำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า[http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=56 ตรัสไว้ว่า] ​ "​ดูกรอานนท์ ​ ปฏิจจสมุปบาทนี้เป็นธรรมลึกซึ้งทั้งอาการที่ปรากฏก็ลึกด้วย" ​ ดังนี้ ​ ก็อันความลึกซึ้ง ​ (แห่งปฏิจจสมุปบาทนั้น) ​ มี 4  ประการ ​ ข้าพเจ้าทั้งหลายจักพรรณนาความลึกซึ้งนั้นข้างหน้า ​ ความลึกซึ้งนั้นหามีในกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่ ข้อว่า ​ '''"​เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย"''' ​ ความว่า ​ ก็แลคำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า[http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=56 ตรัสไว้ว่า] ​ "​ดูกรอานนท์ ​ ปฏิจจสมุปบาทนี้เป็นธรรมลึกซึ้งทั้งอาการที่ปรากฏก็ลึกด้วย" ​ ดังนี้ ​ ก็อันความลึกซึ้ง ​ (แห่งปฏิจจสมุปบาทนั้น) ​ มี 4  ประการ ​ ข้าพเจ้าทั้งหลายจักพรรณนาความลึกซึ้งนั้นข้างหน้า ​ ความลึกซึ้งนั้นหามีในกิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่
  
บรรทัด 87: บรรทัด 94:
 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1
  
-==ทขสูตร==+====ทำลายหลัภาษา====
  
-ข้อว่า ​ '''​เพราะเป็นสททเ''' ​ (์แตก)  ​"ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน+ข้อว่า ​ '''​เพราะทำลายหลาษา'''​ (ัททเภท)  ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 132)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 132)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 251: บรรทัด 258:
 '''​เหตุที่ทรงแสดงเช่นนี้'''​ '''​เหตุที่ทรงแสดงเช่นนี้'''​
  
-ถามว่า ​ ก็เพาะเหตุไฉนจึงทรงแสดงอย่างนี้ ?  แก้ว่า ​ เพราะปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรม ​ (สมันตภัทร) ​ มีความงามรอบตัว ​ และเพราะพระองค์เองก็ทรงถึงซึ่ง ​ (เทสนาวิลาส) ​ ความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนาด้วย ​ จริงอยู่ ​ ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมมีความงามรอบตัว ​ จึงเป็นไปเพื่อแทงตลอดซึ่งธรรมที่ถูกต้อง ​ เพราะ ​ (กระบวน) ​ เทศนานั้น ๆ โดยแท้ ​ พระผู้มีพระภาคเล่าก็ทรงถึงซึ่งความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนา ​ เพราะทรงประกอบด้วยพระเวสารัชชญาณ 4  และพระปฏิสัมิทาญาณ 4  และเพราะทรงถึงซึ่งพระคัมภีรภาพ 4  ประการด้วย ​ เพราะทรงถึงซึ่งความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนา ​ พระองค์จึงทรงแสดงธรรมได้โดยนัยต่าง ๆ แท้+ถามว่า ​ ก็เพาะเหตุไฉนจึงทรงแสดงอย่างนี้ ?  แก้ว่า ​ เพราะปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรม ​ (สมันตภัทร) ​ มีความงามรอบตัว ​ และเพราะพระองค์เองก็ทรงถึงซึ่ง ​ (เทสนาวิลาส) ​ ความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนาด้วย ​ จริงอยู่ ​ ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมมีความงามรอบตัว ​ จึงเป็นไปเพื่อแทงตลอดซึ่งธรรมที่ถูกต้อง ​ เพราะ ​ (กระบวน) ​ เทศนานั้น ๆ โดยแท้ ​ พระผู้มีพระภาคเล่าก็ทรงถึงซึ่งความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนา ​ เพราะทรงประกอบด้วยพระเวสารัชชญาณ 4  และพระปฏิสัมิทาญาณ 4  และเพราะทรงถึงซึ่งพระคัมภีรภาพ 4  ประการด้วย ​ เพราะทรงถึงซึ่งความงามใน ​ (กระบวน) ​ เทศนา ​ พระองค์จึงทรงแสดงธรรมได้โดยนัยต่าง ๆ แท้
  
 แต่ ​ (เมื่อว่า) ​ โดยความแปลกกัน ​ (แห่งเทศนาทั้ง 4)  '''​อนุโลมเทศนา''' ​ (การแสดงปฏิจจสมุปบาทโดยอนุโลม) ​ ตั้งแต่ต้นไปอันใด ​ อนุโลมเทศนานั้นบัณฑิตพึงทราบว่าเป็นไปแก่พระองค์ผู้ทรงพิจารณาเห็นเวไนยชนซึ่งยังเขลาอยู่ในการจำแนกเหตุแห่งปวัตติ ​ (ความหมุนไป) ​ ตามเหตุทั้งหลายที่เป็นของตน ​ และเพื่อทรงชี้แจงลำดับแห่งความเกิดขึ้นด้วย แต่ ​ (เมื่อว่า) ​ โดยความแปลกกัน ​ (แห่งเทศนาทั้ง 4)  '''​อนุโลมเทศนา''' ​ (การแสดงปฏิจจสมุปบาทโดยอนุโลม) ​ ตั้งแต่ต้นไปอันใด ​ อนุโลมเทศนานั้นบัณฑิตพึงทราบว่าเป็นไปแก่พระองค์ผู้ทรงพิจารณาเห็นเวไนยชนซึ่งยังเขลาอยู่ในการจำแนกเหตุแห่งปวัตติ ​ (ความหมุนไป) ​ ตามเหตุทั้งหลายที่เป็นของตน ​ และเพื่อทรงชี้แจงลำดับแห่งความเกิดขึ้นด้วย
บรรทัด 349: บรรทัด 356:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 146)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 146)''</​fs></​sub>​
  
-อวิชชา  ​มีวามไม่รู้เป็นลักษณะ ​ มีรทำให้หลงเป็นรส ​ มีการกปิด  (เสียซึ่งสภาว)  ​เป็นปัจจุปัฏฐาน ​ มีอสวะเป็นปทัฏฐาน+'''​อวิชชา''' ​  
 +# ลักษณะ ​ือ ไ่รู้(ไม่รู้เหตุผลแบบปฏิจจสมุปบาท 12 เป็นต้น)  
 +# (ิจ)ส คือ ​ทำให้หลง(หลงเหตุผลแบบปฏิจจสมุปบาท 12 เป็นต้น((ผู้เียบเรียบ:​ มฺุสน-ขาดสติ ​มีกิจรสคือ ทำให้หลงลืมอารมณ์ของุศล, สมฺโมห-ขาดัญญา มีกจรคือ ทำให้หลงลืมเหตุผล,​ในบาลีบางที่ใช้เป็นเววจนะกัน แต่ในเรื่อลักขณาทิจตุกกะนี้ อรรถกถาใช้ต่างกัน เพื่อแยกสภาวธรรม)))  ​ 
 +ปัจจุปัฏฐาน ​คือ ปกปิด ​ (เหตุผลแบบปฏิจจสุปบท 12 เป็นต้น) 
 +ปทัฏฐาน ​คือ อาสวะ (กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ)
  
 สังขาร ​ มีการปรุงแต่งเป็นลักษณะ ​ มีความพยายาม ​ (เพื่อก่อปฏิสนธิ) ​ เป็นรส ​ มีเจตนาเป็นปัจจุปัฏฐาน ​ มีอวิชชาเป็นปทัฏฐาน สังขาร ​ มีการปรุงแต่งเป็นลักษณะ ​ มีความพยายาม ​ (เพื่อก่อปฏิสนธิ) ​ เป็นรส ​ มีเจตนาเป็นปัจจุปัฏฐาน ​ มีอวิชชาเป็นปทัฏฐาน