วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision Both sides next revision
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2020/09/26 13:20]
dhamma
วิสุทธิมรรค_17_ปัญญาภูมินิทเทส [2020/09/26 13:21]
dhamma
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
 # เพราะทำลายหลักภาษา (สัททเภท)  ​ # เพราะทำลายหลักภาษา (สัททเภท)  ​
  
-====ไม่มีพระสูตรอ้าง====+====เพราะไม่มีพระสูตรอ้าง====
  
 จริงอยู่ ​ พระสูตรว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (ไม่มีเหตุ) ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ดังนี้หามีไม่ ​ และความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ (พระสูตรที่กล่าวถึงปเทสวิหารธรรม) ​ ก็ต้อง ​ (มี) ​ ก็ผู้ที่กล่าวว่า ​ กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นนั้นชื่อว่าปฏิจจสมุปบาทเป็นปฐมาภิสัมพุทธวิหาร ​ (วิหารธรรมเมื่อแรกตรัสรู้) ​ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ​ โดยบาลีว่า ​ "​ครั้งนั้นแล ​ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาททั้งอนุโลมและปฏิโลมตลอดปฐมยามแห่งราตรี" ​ ดังนี้ ​ เป็นอาทิ ​ อนึ่ง ​ วิหารธรรมเป็นส่วนหนึ่งปฏจจสมุปบาทนั้น ​ ชื่อว่าปเทสวิหารธรรม ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ เรานั้นแรกตรัสรู้ ​ พักผ่อนอยู่ด้วยวิหารธรรมใด ​ เราพักผ่อนอยู่แล้วด้วยปเทส ​ (ส่วนหนึ่ง) ​ แห่งวิหารธรรมนั้น" ​ ก็แลพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพักผ่อนอยู่ในปเทสวิหารธรรมนั้น ​ ก็โดยทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูปัจจยาการ ​ (อาการแห่งปัจจยธรรม) ​ หาใช่ทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูกิริยาจักว่าความเกิดขึ้นไม่แล ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​เรานั้นรู้ทั่วถึงอย่างนี้ว่า ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือมิจฉาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือสัมมาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยมิจฉาสังกัปปะก็มี ​ ดังนี้เป็นต้น ​ คำบาลีทั้งปวงบัณฑิตพึง ​ (นำมากล่าว) ​ ให้พิสดารเถิด ​ ความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู่กล่าวว่ากิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้ จริงอยู่ ​ พระสูตรว่า ​ "​กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ (ไม่มีเหตุ) ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ดังนี้หามีไม่ ​ และความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ (พระสูตรที่กล่าวถึงปเทสวิหารธรรม) ​ ก็ต้อง ​ (มี) ​ ก็ผู้ที่กล่าวว่า ​ กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นนั้นชื่อว่าปฏิจจสมุปบาทเป็นปฐมาภิสัมพุทธวิหาร ​ (วิหารธรรมเมื่อแรกตรัสรู้) ​ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ​ โดยบาลีว่า ​ "​ครั้งนั้นแล ​ พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงมนสิการปฏิจจสมุปบาททั้งอนุโลมและปฏิโลมตลอดปฐมยามแห่งราตรี" ​ ดังนี้ ​ เป็นอาทิ ​ อนึ่ง ​ วิหารธรรมเป็นส่วนหนึ่งปฏจจสมุปบาทนั้น ​ ชื่อว่าปเทสวิหารธรรม ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​ดูกรภิกษุทั้งหลาย ​ เรานั้นแรกตรัสรู้ ​ พักผ่อนอยู่ด้วยวิหารธรรมใด ​ เราพักผ่อนอยู่แล้วด้วยปเทส ​ (ส่วนหนึ่ง) ​ แห่งวิหารธรรมนั้น" ​ ก็แลพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพักผ่อนอยู่ในปเทสวิหารธรรมนั้น ​ ก็โดยทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูปัจจยาการ ​ (อาการแห่งปัจจยธรรม) ​ หาใช่ทรง ​ (พิจารณา) ​ ดูกิริยาจักว่าความเกิดขึ้นไม่แล ​ ดังที่ตรัสว่า ​ "​เรานั้นรู้ทั่วถึงอย่างนี้ว่า ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือมิจฉาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยคือสัมมาทิฏฐิก็มี ​ ความเสวยอารมณ์มีเพราะปัจจัยมิจฉาสังกัปปะก็มี ​ ดังนี้เป็นต้น ​ คำบาลีทั้งปวงบัณฑิตพึง ​ (นำมากล่าว) ​ ให้พิสดารเถิด ​ ความผิดต่อปเทสวิหารสูตร ​ ต้อง ​ (มี) ​ แก่ผู่กล่าวว่ากิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้น ​ ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท" ​ ด้วยประการฉะนี้
บรรทัด 94: บรรทัด 94:
 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1 กิริยาเพียงแต่ความเกิดขึ้นไม่เป็นปฏิจจสมุปบาท ​ เพราะไม่เกิดความลึกซึ้งและนัย ​ ดังกล่าวมาฉะนี้ ​ ประการ 1
  
-==เพราะทำลายหลักภาษา==+====เพราะทำลายหลักภาษา====
  
 ข้อว่า ​ '''​เพราะทำลายหลักภาษา'''​ (สัททเภท) ​ ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน ข้อว่า ​ '''​เพราะทำลายหลักภาษา'''​ (สัททเภท) ​ ความว่า ​ ก็แล ​ '''​ปฏิจจ'''​ศัพท์นี้ ​ เพราะกัตตาเสมอกัน ​ (คือหากมีกัตตาเดียวกันกับอุปปาท) ​ ประกอบไว้ในบุพกาล ​ (คือใช้เป็นบุพกาลกิริยา) ​ จึงทำความสำเร็จแห่งอรรถได้ ​ (คือได้ความเป็นภาษา) ​ [http://​www.84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=16&​siri=39 เช่นกับพากย์นี้ว่า] ​ '''"​จกฺขุญจ ​ ปฏิจฺจรูเป ​ จ  อุปฺปชฺชติ ​ จกฺขุวิญฺญาณํ''' ​ จักขุวิญญาณย่อมอาศัยจักษุและรูปเกิดขึ้น" ​ แต่ใน