วิสุทธิมรรค_13_อภิญญานิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_13_อภิญญานิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_13_อภิญญานิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head|}} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
  
-== อภิญญานิทเทส ​ ปริจเฉทที่ 13 ==+''' ​อภิญญานิทเทส ​ ปริจเฉทที่ 13 '''​
  
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 280)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 280)''</​fs></​sub>​
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
 บัดนี้ ​ ถึงวาระแสดงเรื่องทิพพโสตธาตุต่อไป ​ นักศึกษาพึงทราบความแห่งพระบาลี ​ เป็นต้นว่า ​ พระโยคีนั้นเมื่อมีจิตตั้งมั่นอย่างนี้ ​ ดังในทิพพโสตธาตุนิทเทสนั้นก็ดี ​ ในอภิญญา 3  ต่อนั้นไปก็ดี ​ ด้วยความหมายดังที่กล่าวไว้แล้วในตอนว่าด้วยอิทธิวิธนิทเทสเถิด ​ ในพระบาลีว่าด้วยเรื่องอภิญญาทั้งหมดนี้ ข้าพเจ้าจักขยายเฉพาะข้อความที่แปลกกันเท่านั้น บัดนี้ ​ ถึงวาระแสดงเรื่องทิพพโสตธาตุต่อไป ​ นักศึกษาพึงทราบความแห่งพระบาลี ​ เป็นต้นว่า ​ พระโยคีนั้นเมื่อมีจิตตั้งมั่นอย่างนี้ ​ ดังในทิพพโสตธาตุนิทเทสนั้นก็ดี ​ ในอภิญญา 3  ต่อนั้นไปก็ดี ​ ด้วยความหมายดังที่กล่าวไว้แล้วในตอนว่าด้วยอิทธิวิธนิทเทสเถิด ​ ในพระบาลีว่าด้วยเรื่องอภิญญาทั้งหมดนี้ ข้าพเจ้าจักขยายเฉพาะข้อความที่แปลกกันเท่านั้น
  
-'''​ทิพพโสตธาตุกถา'''​+=ทิพพโสตธาตุกถา=
  
 บรรดาคำเหล่านั้น ​ ในคำว่า ​ ด้วยโสตธาตุอันเป็นทิพย์ ​ นี้มีอธิบายดังต่อไปนี้ บรรดาคำเหล่านั้น ​ ในคำว่า ​ ด้วยโสตธาตุอันเป็นทิพย์ ​ นี้มีอธิบายดังต่อไปนี้
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
 จบทิพพโสตธาตุกถา จบทิพพโสตธาตุกถา
  
-'''​เจโตปริยญาณกถา'''​+=เจโตปริยญาณกถา=
  
 คำว่า ​ ด้วยเจโตปริยญาณ ​ ในเจโตปริญาณกถานี้ ​ มีอธิบายดังต่อไปนี้ ​ ญาณชื่อว่า ​ ปริยะ ​ เพราะอรรถว่าไปรอบ ​ อธิบายว่า ​ ย่อมกำหนดด้วยญาณอันกำหนดใจของผู้อื่นได้ ​ ชื่อว่า ​ เจโตปริยะ ​ ญาณนั้นด้วย ​ กำหนดใจของผู้อื่นได้ด้วย ​ เหตุนั้นชื่อว่า ​ เจโตปริยญาณ ​ อธิบายว่าเพื่อประโยชน์แก่เจโตปริยญาณนั้น ​ คำว่า ของสัตว์อื่น ​ คือของสัตว์พวกที่เหลือ ​ เว้นตนเสีย ​ แม้คำว่า ​ แห่งบุคคลอื่นนี้ ​ ก็มีความหมายเป็นอันเดียวกันกับบทว่าของสัตว์พวกอื่นนี้เหมือนกัน ​ แต่ที่ท่านทำพยัญชนะให้ต่างกัน ​ ก็ด้วยอำนาจแห่งเวไนยสัตว์และด้วยความไพเราะแห่งเทศนา ​ คำว่า ​ กำหนดใจด้วยใจ ​ คือ ​ กำหนดใจเหล่านั้นของสัตว์ด้วยใจของตนเอง คำว่า ​ รู้ชัด ​ คือรู้ทุกสิ่งทุกประการ ​ ด้วยอำนาจแห่งสัตว์ผู้มีราคะเป็นต้น  ​ คำว่า ​ ด้วยเจโตปริยญาณ ​ ในเจโตปริญาณกถานี้ ​ มีอธิบายดังต่อไปนี้ ​ ญาณชื่อว่า ​ ปริยะ ​ เพราะอรรถว่าไปรอบ ​ อธิบายว่า ​ ย่อมกำหนดด้วยญาณอันกำหนดใจของผู้อื่นได้ ​ ชื่อว่า ​ เจโตปริยะ ​ ญาณนั้นด้วย ​ กำหนดใจของผู้อื่นได้ด้วย ​ เหตุนั้นชื่อว่า ​ เจโตปริยญาณ ​ อธิบายว่าเพื่อประโยชน์แก่เจโตปริยญาณนั้น ​ คำว่า ของสัตว์อื่น ​ คือของสัตว์พวกที่เหลือ ​ เว้นตนเสีย ​ แม้คำว่า ​ แห่งบุคคลอื่นนี้ ​ ก็มีความหมายเป็นอันเดียวกันกับบทว่าของสัตว์พวกอื่นนี้เหมือนกัน ​ แต่ที่ท่านทำพยัญชนะให้ต่างกัน ​ ก็ด้วยอำนาจแห่งเวไนยสัตว์และด้วยความไพเราะแห่งเทศนา ​ คำว่า ​ กำหนดใจด้วยใจ ​ คือ ​ กำหนดใจเหล่านั้นของสัตว์ด้วยใจของตนเอง คำว่า ​ รู้ชัด ​ คือรู้ทุกสิ่งทุกประการ ​ ด้วยอำนาจแห่งสัตว์ผู้มีราคะเป็นต้น  ​
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 284)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 284)''</​fs></​sub>​
  
-'''​ปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา'''​+=ปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา=
  
 นักศึกษาพึงทราบวินิจฉัยใน ​ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา ​ ดังต่อไปนี้ ​ คำว่า ​ เพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา ​ นี้คือเพื่อประโยชน์แก่ญาณในการนึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ ที่ชื่อว่า ​ ขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ ก็คือขันธ์ที่เคยอยู่ครอบครองในกาลก่อน ​ ได้แก่ชาติที่ล่วงไปแล้วนับไม่ถ้วน ​ คำว่า ​ อยู่ครอง คือ ​ ที่ตนได้เคยครอบครองมา ​ ที่ตนได้เคยเสวยผลมา ​ ได้แก่ที่เกิดดับในสันดานของตน ​ หรืออาการต่าง ๆ ที่อาศัยขันธ์ ​ คำว่า ​ อยู่ครอบครอง ​ คือ ​ อยู่ประจำโดยการอยู่อาศัยเป็นโคจร ​ ได้แก่ที่กำหนดรู้ชัดด้วยวิญญาณของตน ​ หรือ ​ ที่กำหนดรู้ชัดได้ด้วยวิญญาณของผู้อื่น ​ ในเวลาที่อนุสรณ์ถึงท่านผู้ตัดขาดวัฏสงสารถึงนิพพานแล้ว ​ พระพุทธเจ้าทั้งหลายเท่านั้นจึงจะมีนิวุฏฐธรรมเหล่านั้นได้ ​ คำว่า ​ นึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ คือ ​ พระโยคีนึกถึงขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อนได้ด้วยสติใด ​ สตินั้นชื่อว่า ​ ปุพเพนิวาสานุสสติ ​ ญาณอันสัมปยุตด้วยสตินั้นชื่อว่า ​ ญาณ ​ เพื่อประโยชน์แก่ญาณอันสัมปยุตด้วยสติ ​ นึกถึงขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อนนี้ดังบรรยายมานี้ ​ มีอธิบายว่า ​ เพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ​ คือเพื่อการบรรลุถึงซึ่งญาณนี้ ​ คำว่า ​ มิใช่อย่างเดียว ​  ​คือหลายอย่าง ​ หรือที่ท่านให้เป็นไป ​ คือพรรณนาได้หลายอย่าง ​ คำว่า ​ ขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อน ​ คือ ​ สันดานที่ตนเคยอาศัยอยู่อาศัยครอบครองในภพนั้น ๆ  ตั้งต้นแต่ภพที่เป็นอดีตล่วงมานี่เอง ​ คำว่า ​ นึกได้ ​ คือระลึกย้อนไปตามลำดับแห่งขันธ์ ​ หรือว่าตามลำดับจุติและปฏิสนธิ นักศึกษาพึงทราบวินิจฉัยใน ​ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา ​ ดังต่อไปนี้ ​ คำว่า ​ เพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณกถา ​ นี้คือเพื่อประโยชน์แก่ญาณในการนึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ ที่ชื่อว่า ​ ขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ ก็คือขันธ์ที่เคยอยู่ครอบครองในกาลก่อน ​ ได้แก่ชาติที่ล่วงไปแล้วนับไม่ถ้วน ​ คำว่า ​ อยู่ครอง คือ ​ ที่ตนได้เคยครอบครองมา ​ ที่ตนได้เคยเสวยผลมา ​ ได้แก่ที่เกิดดับในสันดานของตน ​ หรืออาการต่าง ๆ ที่อาศัยขันธ์ ​ คำว่า ​ อยู่ครอบครอง ​ คือ ​ อยู่ประจำโดยการอยู่อาศัยเป็นโคจร ​ ได้แก่ที่กำหนดรู้ชัดด้วยวิญญาณของตน ​ หรือ ​ ที่กำหนดรู้ชัดได้ด้วยวิญญาณของผู้อื่น ​ ในเวลาที่อนุสรณ์ถึงท่านผู้ตัดขาดวัฏสงสารถึงนิพพานแล้ว ​ พระพุทธเจ้าทั้งหลายเท่านั้นจึงจะมีนิวุฏฐธรรมเหล่านั้นได้ ​ คำว่า ​ นึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยมาในกาลก่อน ​ คือ ​ พระโยคีนึกถึงขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อนได้ด้วยสติใด ​ สตินั้นชื่อว่า ​ ปุพเพนิวาสานุสสติ ​ ญาณอันสัมปยุตด้วยสตินั้นชื่อว่า ​ ญาณ ​ เพื่อประโยชน์แก่ญาณอันสัมปยุตด้วยสติ ​ นึกถึงขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อนนี้ดังบรรยายมานี้ ​ มีอธิบายว่า ​ เพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ​ คือเพื่อการบรรลุถึงซึ่งญาณนี้ ​ คำว่า ​ มิใช่อย่างเดียว ​  ​คือหลายอย่าง ​ หรือที่ท่านให้เป็นไป ​ คือพรรณนาได้หลายอย่าง ​ คำว่า ​ ขันธ์ที่เคยอยู่อาศัยมาในกาลก่อน ​ คือ ​ สันดานที่ตนเคยอาศัยอยู่อาศัยครอบครองในภพนั้น ๆ  ตั้งต้นแต่ภพที่เป็นอดีตล่วงมานี่เอง ​ คำว่า ​ นึกได้ ​ คือระลึกย้อนไปตามลำดับแห่งขันธ์ ​ หรือว่าตามลำดับจุติและปฏิสนธิ
บรรทัด 177: บรรทัด 177:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 299)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ ​ 299)''</​fs></​sub>​
  
-'''​จุตูปปาตญาณกถา'''​+=จุตูปปาตญาณกถา=
  
 เนื้อความในเรื่องความรู้ในจุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลายนักศึกษาพึงทราบดังต่อไปนี้ ​ คำว่า ​ เพื่อจุตูปปาตญาณ ​ คือ ​ เพื่อรู้การตายและการเกิด ​ อธิบายว่า ​ จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลายที่พระโยคีรู้ได้ด้วยญาณใด ​ ก็น้อมนำจิตเข้าไปเพื่อญาณนั้น ​ คือ ​ เพื่อทิพยจักษุญาณ ​ คำว่า ​ น้อมนำจิต ​ คือ ​ นำเข้าไปเฉพาะ ​ ได้แก่นำบริกรรมจิตมุ่งเข้าไป ​ คำว่า นั้น ​ คือ ​ ภิกษุผู้มีการนำจิตมุ่งไปได้ทำแล้วนั้น ​ ก็ในคำว่า ​ เป็นทิพย์เป็นต้น ​ มีอธิบายว่า ​ ชื่อว่าเป็นทิพย์เพราะเป็นเหมือนของทิพย์ ​ คือปสาทจักษุของพวกเทพเจ้าซึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยอำนาจสุจริตกรรม มิได้เกลือกกลั้วด้วยดี, ​ เสมหะ, ​ เลือดเป็นต้น ​ สามารถจะรับอารมณ์แม้ในที่ไกล ๆ ได้ ​ เพราะพ้นจากอุปกิเลส ​ เป็นปสาทจักษุทิพย์ ​ แม้ญาณจักษุนี้ของภิกษุนั้นบังเกิดได้ด้วยกำลังแห่งวิริยภาวนา ​ เช่นเดียวกับปสาทจักษุนั้น ​ เหตุนั้น ​ จึงชื่อว่าเป็นทิพย์ ​ เพราะเหมือนของทิพย์ ​ อนึ่ง ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ เพราะได้ด้วยอำนาจทิพพวิหารและเพราะตนได้อาศัยทิพพวิหาร ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ แม้เพราะเหตุที่สว่างไสวมากด้วยการกำหนดถือด้วยอาโลกกสิณ ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ แม้เพราะเหตุที่มีภูมิที่ไปได้มาก ​ เพราะเห็นรูปที่อยู่ในภายนอกฝาเป็นต้นได้ชัดเจน ​ ข้อความนั้นทั้งหมดนักศึกษาพึงทราบตามแนวแห่งคัมภีร์ศัพทศาสตร์นั้นเถิด ​ ญาณนั้นชื่อว่าจักษุ ​ เพราะอรรถว่าเห็น ​ อนึ่ง ​ ชื่อว่าจักษุ ​ เพราะเป็นดังตาเหตุทำหน้าที่ของตา ​ จักษุนั้นจัดว่าหมดจดเพราะเป็นเหตุแห่งทิฏฐิวิสุทธิด้วยการเห็นได้ทั้งจุติทั้งอุปบัติ ​ เพราะว่าผู้ใดเห็นแต่จุติอย่างเดียวไม่เห็นอุปบัติ ​ ผู้นั้นย่อมยึดมั่นอุจเฉททิฏฐิ ​ ผู้ใดเห็นแต่อุบัติอย่างเดียวไม่เห็นจุติ ​ ผู้นั้นย่อมยึดมั่นสัสสตทิฏฐิ ​ เพราะความเกิดปรากฏขึ้นแห่งสัตว์ใหม่ ​ ส่วนผู้ใดเห็นทั้ง 2  อย่าง ​ ผู้นั้นย่อมล่วงพ้นจากทิฏฐิ 2  อย่างนั้นเสียได้ ​ เหตุนั้นความเห็นของผู้นั้นจึงเป็นเหตุแห่งทิฏฐิวิสุทธิ เนื้อความในเรื่องความรู้ในจุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลายนักศึกษาพึงทราบดังต่อไปนี้ ​ คำว่า ​ เพื่อจุตูปปาตญาณ ​ คือ ​ เพื่อรู้การตายและการเกิด ​ อธิบายว่า ​ จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลายที่พระโยคีรู้ได้ด้วยญาณใด ​ ก็น้อมนำจิตเข้าไปเพื่อญาณนั้น ​ คือ ​ เพื่อทิพยจักษุญาณ ​ คำว่า ​ น้อมนำจิต ​ คือ ​ นำเข้าไปเฉพาะ ​ ได้แก่นำบริกรรมจิตมุ่งเข้าไป ​ คำว่า นั้น ​ คือ ​ ภิกษุผู้มีการนำจิตมุ่งไปได้ทำแล้วนั้น ​ ก็ในคำว่า ​ เป็นทิพย์เป็นต้น ​ มีอธิบายว่า ​ ชื่อว่าเป็นทิพย์เพราะเป็นเหมือนของทิพย์ ​ คือปสาทจักษุของพวกเทพเจ้าซึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยอำนาจสุจริตกรรม มิได้เกลือกกลั้วด้วยดี, ​ เสมหะ, ​ เลือดเป็นต้น ​ สามารถจะรับอารมณ์แม้ในที่ไกล ๆ ได้ ​ เพราะพ้นจากอุปกิเลส ​ เป็นปสาทจักษุทิพย์ ​ แม้ญาณจักษุนี้ของภิกษุนั้นบังเกิดได้ด้วยกำลังแห่งวิริยภาวนา ​ เช่นเดียวกับปสาทจักษุนั้น ​ เหตุนั้น ​ จึงชื่อว่าเป็นทิพย์ ​ เพราะเหมือนของทิพย์ ​ อนึ่ง ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ เพราะได้ด้วยอำนาจทิพพวิหารและเพราะตนได้อาศัยทิพพวิหาร ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ แม้เพราะเหตุที่สว่างไสวมากด้วยการกำหนดถือด้วยอาโลกกสิณ ​ ชื่อว่า ​ เป็นทิพย์ ​ แม้เพราะเหตุที่มีภูมิที่ไปได้มาก ​ เพราะเห็นรูปที่อยู่ในภายนอกฝาเป็นต้นได้ชัดเจน ​ ข้อความนั้นทั้งหมดนักศึกษาพึงทราบตามแนวแห่งคัมภีร์ศัพทศาสตร์นั้นเถิด ​ ญาณนั้นชื่อว่าจักษุ ​ เพราะอรรถว่าเห็น ​ อนึ่ง ​ ชื่อว่าจักษุ ​ เพราะเป็นดังตาเหตุทำหน้าที่ของตา ​ จักษุนั้นจัดว่าหมดจดเพราะเป็นเหตุแห่งทิฏฐิวิสุทธิด้วยการเห็นได้ทั้งจุติทั้งอุปบัติ ​ เพราะว่าผู้ใดเห็นแต่จุติอย่างเดียวไม่เห็นอุปบัติ ​ ผู้นั้นย่อมยึดมั่นอุจเฉททิฏฐิ ​ ผู้ใดเห็นแต่อุบัติอย่างเดียวไม่เห็นจุติ ​ ผู้นั้นย่อมยึดมั่นสัสสตทิฏฐิ ​ เพราะความเกิดปรากฏขึ้นแห่งสัตว์ใหม่ ​ ส่วนผู้ใดเห็นทั้ง 2  อย่าง ​ ผู้นั้นย่อมล่วงพ้นจากทิฏฐิ 2  อย่างนั้นเสียได้ ​ เหตุนั้นความเห็นของผู้นั้นจึงเป็นเหตุแห่งทิฏฐิวิสุทธิ
บรรทัด 227: บรรทัด 227:
 จบ ​ จุตูปปาตญาณกถา จบ ​ จุตูปปาตญาณกถา
  
-'''​ความเบ็ดเตล็ดในอภิญญา'''​+=ความเบ็ดเตล็ดในอภิญญา=
  
 พระโลกนาถเจ้าผู้ทรงรู้แจ้งขันธ์ 5  ได้ทรงตรัสอภิญญา 5  เหล่าใดไว้ ​ พระโยคีเข้าใจอภิญญาเหล่านั้น ​ แล้วพึงทราบถึงเรื่องเบ็ดเตล็ดในอภิญญาเหล่านี้ ​ ดังต่อไปนี้ พระโลกนาถเจ้าผู้ทรงรู้แจ้งขันธ์ 5  ได้ทรงตรัสอภิญญา 5  เหล่าใดไว้ ​ พระโยคีเข้าใจอภิญญาเหล่านั้น ​ แล้วพึงทราบถึงเรื่องเบ็ดเตล็ดในอภิญญาเหล่านี้ ​ ดังต่อไปนี้
บรรทัด 257: บรรทัด 257:
 ความเป็นไปแห่งอิทธิวิธญาณในอารมณ์ 7 อย่าง ​ พึงทราบดังได้พรรณนามานี้แล ความเป็นไปแห่งอิทธิวิธญาณในอารมณ์ 7 อย่าง ​ พึงทราบดังได้พรรณนามานี้แล
  
-'''​ทิพพโสตธาตุญาณ'''​+=ทิพพโสตธาตุญาณ'''​
  
 ทิพพโสตธาตุญาณย่อมเป็นในอารมณ์ 4  ด้วยอำนาจ ​ ปริตตารมณ์ 1 ปัจจุปันนารมณ์ ​ 1  อัชฌัตตารมณ์ 1  พหิทธารมณ์ 1  เป็นอย่างไร ?  คือ ​ ทิพพโสตธาตุญาณนั้นเป็นปริตตารมณ์ ​ ได้แก่มีอารมณ์เป็นกามาวจร ​ เพราะเหตุทำเสียงให้เป็นอารมณ์ ​ และเพราะเหตุว่าเสียงเป็นปริตตะคือกามาวจร ​ และชื่อว่าเป็นปัจจุปันนารมณ์เฉพาะที่ทำปัจจุบันให้เป็นอารมณ์แล้วเป็นไป ​ ทิพพโสตธาตุญาณนั้นชื่อว่าเป็นอัชฌัตตารมณ์ ​ ในเวลาฟังเสียงในท้องของตน ​ ชื่อว่าเป็นพหิทธารมณ์ในเวลาฟังเสียงของผู้อื่น ทิพพโสตธาตุญาณย่อมเป็นในอารมณ์ 4  ด้วยอำนาจ ​ ปริตตารมณ์ 1 ปัจจุปันนารมณ์ ​ 1  อัชฌัตตารมณ์ 1  พหิทธารมณ์ 1  เป็นอย่างไร ?  คือ ​ ทิพพโสตธาตุญาณนั้นเป็นปริตตารมณ์ ​ ได้แก่มีอารมณ์เป็นกามาวจร ​ เพราะเหตุทำเสียงให้เป็นอารมณ์ ​ และเพราะเหตุว่าเสียงเป็นปริตตะคือกามาวจร ​ และชื่อว่าเป็นปัจจุปันนารมณ์เฉพาะที่ทำปัจจุบันให้เป็นอารมณ์แล้วเป็นไป ​ ทิพพโสตธาตุญาณนั้นชื่อว่าเป็นอัชฌัตตารมณ์ ​ ในเวลาฟังเสียงในท้องของตน ​ ชื่อว่าเป็นพหิทธารมณ์ในเวลาฟังเสียงของผู้อื่น