วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head|}} +{{template:วสธมฉปส head|}} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
  
-== วิธีเลือกวัดให้ภาวนาสะดวก ​==+= วิธีเลือกวัดให้ภาวนาสะดวก =
 บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายโดยพิสดารในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้าได้กล่าวมาแล้วว่า ​ พึงออกจากวัดอันไม่สมควรแก่การภาวนาสมาธิ ​ ไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ ดังต่อไปนี้ – บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายโดยพิสดารในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้าได้กล่าวมาแล้วว่า ​ พึงออกจากวัดอันไม่สมควรแก่การภาวนาสมาธิ ​ ไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ ดังต่อไปนี้ –
  
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
 ส่วนโยคีบุคคลผู้ไม่ได้ที่อยู่อันผาสุกสบาย ​ แม้ในระยะทางประมาณสี่ร้อยเส้นนั้น ​ จงตัดข้อขอดที่เข้าใจได้ยากในกัมมัฏฐานให้กระจ่างแจ้งทุกประการ ​ ชำระกัมมัฏฐานให้บริสุทธิ์ด้วยดีขึ้นอยู่กับใจได้แล้ว ​ จะพรากออกจากวัดอันไม่สมควรแก่การภาวนาสมาธิ ​ ไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ แม้ไกล ๆ  กว่านั้นก็ได้ ส่วนโยคีบุคคลผู้ไม่ได้ที่อยู่อันผาสุกสบาย ​ แม้ในระยะทางประมาณสี่ร้อยเส้นนั้น ​ จงตัดข้อขอดที่เข้าใจได้ยากในกัมมัฏฐานให้กระจ่างแจ้งทุกประการ ​ ชำระกัมมัฏฐานให้บริสุทธิ์ด้วยดีขึ้นอยู่กับใจได้แล้ว ​ จะพรากออกจากวัดอันไม่สมควรแก่การภาวนาสมาธิ ​ ไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ แม้ไกล ๆ  กว่านั้นก็ได้
  
-===วัดที่ภาวนาไม่สะดวก 18===+==วัดที่ภาวนาไม่สะดวก 18==
  
 ในวัดที่สมควรและไม่สมควรนั้น ​ วัดที่ประกอบด้วยโทษ ​ 18  ประการ ​ อย่างใดอย่างหนึ่ง ​ ชื่อว่า ​ วัดไม่สมควร ​ โทษ ​ 18  ประการ ​ ในวัดนั้นดังนี้ ​ คือ – ในวัดที่สมควรและไม่สมควรนั้น ​ วัดที่ประกอบด้วยโทษ ​ 18  ประการ ​ อย่างใดอย่างหนึ่ง ​ ชื่อว่า ​ วัดไม่สมควร ​ โทษ ​ 18  ประการ ​ ในวัดนั้นดังนี้ ​ คือ –
บรรทัด 167: บรรทัด 167:
 บัณฑิตทราบถึงสถานที่ ​ 18  ประการเหล่านี้ ​ คือ ​ วัดใหญ่ 1  วัดสร้างใหม่ 1  วัดที่ชำรุด 1  วัดอิงทางหลวง 1  วัดมีสระน้ำ 1  วัดมีใบไม้ที่ใช้เป็นผัก 1  วัดมีไม้ดอก 1  วัดมีคนไม่ลงรอยกัน 1  วัดอิงท่า 1  วัดอิงบ้านป่าชายแดน 1  วัดอิงเขตแดนประเทศ 1  วัดไม่เป็นที่สบาย 1 และวัดที่หากัลยาณมิตรไม่ได้ 1  ว่าเป็นวัดอันไม่สมควรแก่ภาวนา ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงหลีกเว้นเสียให้ห่างไกล ​ เหมือนพ่อค้าหลีกเว้นทางอันมีภัยเฉพาะหน้า ​ ฉะนั้น บัณฑิตทราบถึงสถานที่ ​ 18  ประการเหล่านี้ ​ คือ ​ วัดใหญ่ 1  วัดสร้างใหม่ 1  วัดที่ชำรุด 1  วัดอิงทางหลวง 1  วัดมีสระน้ำ 1  วัดมีใบไม้ที่ใช้เป็นผัก 1  วัดมีไม้ดอก 1  วัดมีคนไม่ลงรอยกัน 1  วัดอิงท่า 1  วัดอิงบ้านป่าชายแดน 1  วัดอิงเขตแดนประเทศ 1  วัดไม่เป็นที่สบาย 1 และวัดที่หากัลยาณมิตรไม่ได้ 1  ว่าเป็นวัดอันไม่สมควรแก่ภาวนา ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงหลีกเว้นเสียให้ห่างไกล ​ เหมือนพ่อค้าหลีกเว้นทางอันมีภัยเฉพาะหน้า ​ ฉะนั้น
  
-===วัดที่ภาวนาสะดวก 5===+==วัดที่ภาวนาสะดวก 5==
  
 ก็แหละ ​ วัดใดประกอบด้วยองคคุณ 5  ประการ ​ เช่นไม่ไกลไม่ใกล้นักแต่โคจรคาม ​ เป็นต้น ​ วัดเช่นนี้จัดเป็นวัดที่สมควรแก่ภาวนา ​ สมดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า – ก็แหละ ​ วัดใดประกอบด้วยองคคุณ 5  ประการ ​ เช่นไม่ไกลไม่ใกล้นักแต่โคจรคาม ​ เป็นต้น ​ วัดเช่นนี้จัดเป็นวัดที่สมควรแก่ภาวนา ​ สมดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า –
บรรทัด 191: บรรทัด 191:
 อันไม่สมควรแก่สมาธิภาวนาไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ ยุติลงเพียงเท่านี้ อันไม่สมควรแก่สมาธิภาวนาไปอยู่ ​ ณ  ที่วัดอันสมควร ​ ยุติลงเพียงเท่านี้
  
-==ตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ==+=ตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ=
  
 ในหัวข้อสังเขปว่า ​ พึงทำการตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ เสีย ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  อันโยคีบุคคลผู้อยู่ในวัดอันสมควรแก่ภาวนาอย่างนี้แล้ว ​ เมื่อมีเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  แม้ชนิดใดอยู่ ​ ก็พึงตัดเครื่องกังวลแม้ชนิดนั้นเสียก่อน ในหัวข้อสังเขปว่า ​ พึงทำการตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ เสีย ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  อันโยคีบุคคลผู้อยู่ในวัดอันสมควรแก่ภาวนาอย่างนี้แล้ว ​ เมื่อมีเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  แม้ชนิดใดอยู่ ​ ก็พึงตัดเครื่องกังวลแม้ชนิดนั้นเสียก่อน
บรรทัด 201: บรรทัด 201:
 (หน้าที่ 204) (หน้าที่ 204)
  
-==วิธีทำภาวนากัมมัฏฐาน 40==+=วิธีทำภาวนากัมมัฏฐาน 40=
  
 บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายโดยพิสดารในหัวข้อสังเขปทีว่า ​ พึงภาวนา ​ ไม่ทำภาวนาวิธีทุกอย่างให้บกพร่อง ​ ฉะนี้ ​ ด้วยอำนาจกัมมัฏฐานหมดทั้ง 40  ประการไปโดยลำดับโดยจะแสดงปถวีกสิณเป็นประการแรก ​ ดังต่อไปนี้ – บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายโดยพิสดารในหัวข้อสังเขปทีว่า ​ พึงภาวนา ​ ไม่ทำภาวนาวิธีทุกอย่างให้บกพร่อง ​ ฉะนี้ ​ ด้วยอำนาจกัมมัฏฐานหมดทั้ง 40  ประการไปโดยลำดับโดยจะแสดงปถวีกสิณเป็นประการแรก ​ ดังต่อไปนี้ –
  
-==วิธีภาวนาปถวีกสิณ==+=วิธีภาวนาปถวีกสิณ=
  
 ก็แหละ ​ ภิกษุผู้โยคีบุคคลเมื่อตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  ดังนี้แล้ว ​ เวลาภายหลังอาหาร ​ กลับจากการบิณฑบาต ​ บรรเทาความมึนเมาอันมีอาหารเป็นเหตุแล้ว ​ พึงไปนั่งคู้บังลังก์ ​ ตั้งกายให้ตรง ​ ณ  โอกาสอันสงัด ​ แต่นั้นพึงกำหนดเอานิมิตกสิณในดินที่ทำขึ้น ​ หรือที่เป็นเองตามปกติต่อไป ​ ข้อนี้สมดังที่ท่านโบราณาจารย์กล่าวไว้ว่า – ก็แหละ ​ ภิกษุผู้โยคีบุคคลเมื่อตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  ดังนี้แล้ว ​ เวลาภายหลังอาหาร ​ กลับจากการบิณฑบาต ​ บรรเทาความมึนเมาอันมีอาหารเป็นเหตุแล้ว ​ พึงไปนั่งคู้บังลังก์ ​ ตั้งกายให้ตรง ​ ณ  โอกาสอันสงัด ​ แต่นั้นพึงกำหนดเอานิมิตกสิณในดินที่ทำขึ้น ​ หรือที่เป็นเองตามปกติต่อไป ​ ข้อนี้สมดังที่ท่านโบราณาจารย์กล่าวไว้ว่า –
  
-=== บริกรรม === +== บริกรรม === 
-==== วิธีทำนิมิตของปถวีกสิณ ​====+=== วิธีทำนิมิตของปถวีกสิณ ===
 โยคีบุคคลเมื่อจะถือเอาปถวีกสิณโดยอุคคหนิมิตนั้น ​ ย่อมถือเอานิมิตในวงกลมแห่งดินที่สร้างขึ้นหรือที่เป็นเองตามปกติ ​ ชนิดที่มีกำหนด ​ ไม่ใช่ไม่มีกำหนด, ​ ชนิดที่มีที่สุด ​ ไม่ใช่ไม่มีที่สุด,​ ชนิดที่มีสันฐานกลม ​ ไม่ใช่ที่ไม่กลม, ​ ชนิดที่มีขอบเขต ​ ไม่ใช่ไม่มีขอบเขต, ​ โตเท่ากระด้งหรือเท่าปากขันโอ ​ โยคีบุคคลนั้นย่อมภาวนาทำนิมิตนั้นให้เป็นอันถือเอาดีแล้ว ​ ย่อมทรงไว้ซึ่งนิมิตนั้นให้เป็นอันทรงไว้ดีแล้ว ​ และย่อมกำหนดนิมิตนั้นให้เป็นอันกำหนดดีแล้ว ​ ครั้นเธอภาวนาทำนิมิตนั้นให้เป็นอันถือเอาดีแล้ว ​ ทำการทรงไว้ให้เป็นอันทรงไว้ดีแล้ว ​ ทำการกำหนดให้เป็นอันกำหนดดีแล้ว ​ ก็จะเห็นอานิสงส์ ​ มีความสำคัญเห็นเป็นรัตนะ ​ นอบน้อม ​ เคารพ ​ คารวะ ​ กระหยิ่มอิ่มใจ ​ น้อมจิตเข้าไปผูกติดไว้ในอารมณ์ที่ตนถือเอาดีแล้ว ​ ทรงไว้ดีแล้ว ​ กำหนดไว้ดีแล้วนั้น ​ ด้วยความมั่นใจว่า ​ เราจักรอดพ้นจากชราทุกข์มรณทุกข์ ​ ด้วยปฏิปทาอันนี้อย่างแน่นอน ​ เธอบรรลุแล้วซึ่งปฐมฌาน ​ อันมีวิตก ​ มีวิจาร ​ มีปีติ ​ และสุขอันเกิดแก่ความสงัด ​ เพราะสงัดแน่นอนแล้วจากกามทั้งหลาย ​ เพราะสงัดแน่นอนแล้วจาก ​ อกุศลธรรมทั้งหลาย ​ ฉะนี้แล โยคีบุคคลเมื่อจะถือเอาปถวีกสิณโดยอุคคหนิมิตนั้น ​ ย่อมถือเอานิมิตในวงกลมแห่งดินที่สร้างขึ้นหรือที่เป็นเองตามปกติ ​ ชนิดที่มีกำหนด ​ ไม่ใช่ไม่มีกำหนด, ​ ชนิดที่มีที่สุด ​ ไม่ใช่ไม่มีที่สุด,​ ชนิดที่มีสันฐานกลม ​ ไม่ใช่ที่ไม่กลม, ​ ชนิดที่มีขอบเขต ​ ไม่ใช่ไม่มีขอบเขต, ​ โตเท่ากระด้งหรือเท่าปากขันโอ ​ โยคีบุคคลนั้นย่อมภาวนาทำนิมิตนั้นให้เป็นอันถือเอาดีแล้ว ​ ย่อมทรงไว้ซึ่งนิมิตนั้นให้เป็นอันทรงไว้ดีแล้ว ​ และย่อมกำหนดนิมิตนั้นให้เป็นอันกำหนดดีแล้ว ​ ครั้นเธอภาวนาทำนิมิตนั้นให้เป็นอันถือเอาดีแล้ว ​ ทำการทรงไว้ให้เป็นอันทรงไว้ดีแล้ว ​ ทำการกำหนดให้เป็นอันกำหนดดีแล้ว ​ ก็จะเห็นอานิสงส์ ​ มีความสำคัญเห็นเป็นรัตนะ ​ นอบน้อม ​ เคารพ ​ คารวะ ​ กระหยิ่มอิ่มใจ ​ น้อมจิตเข้าไปผูกติดไว้ในอารมณ์ที่ตนถือเอาดีแล้ว ​ ทรงไว้ดีแล้ว ​ กำหนดไว้ดีแล้วนั้น ​ ด้วยความมั่นใจว่า ​ เราจักรอดพ้นจากชราทุกข์มรณทุกข์ ​ ด้วยปฏิปทาอันนี้อย่างแน่นอน ​ เธอบรรลุแล้วซึ่งปฐมฌาน ​ อันมีวิตก ​ มีวิจาร ​ มีปีติ ​ และสุขอันเกิดแก่ความสงัด ​ เพราะสงัดแน่นอนแล้วจากกามทั้งหลาย ​ เพราะสงัดแน่นอนแล้วจาก ​ อกุศลธรรมทั้งหลาย ​ ฉะนี้แล
  
-=====นิมิตกสิณธรรมชาติ=====+====นิมิตกสิณธรรมชาติ====
  
 ในคำของท่านโบราณาจารย์นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ -  อันโยคีบุคคลใด ​ เคยบวชในศาสนาหรือเคยบวชเป็นฤาษีแล้ว ​ ทำฌาน 4  และฌาน 5  ในปถวีกสิณให้บังเกิด ในคำของท่านโบราณาจารย์นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ -  อันโยคีบุคคลใด ​ เคยบวชในศาสนาหรือเคยบวชเป็นฤาษีแล้ว ​ ทำฌาน 4  และฌาน 5  ในปถวีกสิณให้บังเกิด
บรรทัด 223: บรรทัด 223:
 ได้ยินว่า ​ ท่านพระมัลลกเถระนั้น ​ ขณะที่ท่านเพ่งดูที่ดินที่เขาไถไว้ ​ อุคคหนิมิตประมาณเท่าที่ซึ่งเขาไถไว้นั้นนั่นเทียวได้เกิดขึ้นแล้ว ​ ท่านเจริญอุคคหนิมิตจนได้บรรลุฌาน 5  แล้วเริ่มเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานอันมีฌานนั้นเป็นปทัฏฐาน ​ จนได้บรรลุพระอรหัตแล ได้ยินว่า ​ ท่านพระมัลลกเถระนั้น ​ ขณะที่ท่านเพ่งดูที่ดินที่เขาไถไว้ ​ อุคคหนิมิตประมาณเท่าที่ซึ่งเขาไถไว้นั้นนั่นเทียวได้เกิดขึ้นแล้ว ​ ท่านเจริญอุคคหนิมิตจนได้บรรลุฌาน 5  แล้วเริ่มเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานอันมีฌานนั้นเป็นปทัฏฐาน ​ จนได้บรรลุพระอรหัตแล
  
-=====นิมิตกสิณทำเอง=====+====นิมิตกสิณทำเอง====
  
 ส่วนโยคีบุคคลใดผู้ไม่ได้ทำบุญญาธิการไว้เหมือนอย่างที่กล่าวไว้ ​ เธอต้องสร้างปถวีสิณขึ้นเอง ​ อย่างที่ไม่ให้ผิดเพี้ยนไปจากกรรมวิธีที่เรียนมาในสำนักของพระอาจารย์ ​ และให้เลี่ยงเสียจากโทษของกสิณ ​ 4  ประการ ​ จริงอยู่ ​ โทษของปถวีกสิณมีอยู่ ​ 4  ประการ ​ ด้วยอำนาจทำปะปนกับสีเขียว 1  สีเหลือง 1 สีแดง 1  สีขาว 1  เพราะฉะนั้น ​ โยคีบุคคลอย่าได้เอาดินมีสีเขียวเป็นต้นมาทำกสิณ ​ จงทำด้วยดินที่มีสีเหมือนแสงอรุณ ​ เช่น ​ ดินที่แม่น้ำคงคา ​ ก็แหละ ​ กสิณนั้นอย่าทำไว้ ​ ณ  ตรงกลางวัด ​ หรือ ​ ณ  ที่ภิกษุสามเณรสัญจรไปมา ​ พึงทำไว้ตรงที่เป็นเพิงหรือบรรณศาลา ​ ซึ่งเป็นที่ลับอยู่ท้ายวัด ​ จะเป็นกสิณชนิดที่โยกย้ายได้ ​ หรือชนิดที่ตกอยู่กับที่ก็ได้ ส่วนโยคีบุคคลใดผู้ไม่ได้ทำบุญญาธิการไว้เหมือนอย่างที่กล่าวไว้ ​ เธอต้องสร้างปถวีสิณขึ้นเอง ​ อย่างที่ไม่ให้ผิดเพี้ยนไปจากกรรมวิธีที่เรียนมาในสำนักของพระอาจารย์ ​ และให้เลี่ยงเสียจากโทษของกสิณ ​ 4  ประการ ​ จริงอยู่ ​ โทษของปถวีกสิณมีอยู่ ​ 4  ประการ ​ ด้วยอำนาจทำปะปนกับสีเขียว 1  สีเหลือง 1 สีแดง 1  สีขาว 1  เพราะฉะนั้น ​ โยคีบุคคลอย่าได้เอาดินมีสีเขียวเป็นต้นมาทำกสิณ ​ จงทำด้วยดินที่มีสีเหมือนแสงอรุณ ​ เช่น ​ ดินที่แม่น้ำคงคา ​ ก็แหละ ​ กสิณนั้นอย่าทำไว้ ​ ณ  ตรงกลางวัด ​ หรือ ​ ณ  ที่ภิกษุสามเณรสัญจรไปมา ​ พึงทำไว้ตรงที่เป็นเพิงหรือบรรณศาลา ​ ซึ่งเป็นที่ลับอยู่ท้ายวัด ​ จะเป็นกสิณชนิดที่โยกย้ายได้ ​ หรือชนิดที่ตกอยู่กับที่ก็ได้
บรรทัด 239: บรรทัด 239:
 แหละ ​ ที่ท่านโบราณาจารย์กล่าวว่า ​ ประมาณเท่ากระด้งหรือประมาณเท่ากับปากขันโอนั้น ​ ท่านหมายเอาประมาณคือ 1 คืบ 4  นิ้วนี้แล ​ ส่วนคำมีอาทิว่า ​ ชนิดที่มีกำหนด ​ ไม่ใช่ไม่มีกำหนด ​ นั้น ​ ท่านกล่าวไว้เพื่อแสดงว่า ​ ปถวีกสิณนั้นเป็นสิ่งที่มีกำหนดขอบเขต แหละ ​ ที่ท่านโบราณาจารย์กล่าวว่า ​ ประมาณเท่ากระด้งหรือประมาณเท่ากับปากขันโอนั้น ​ ท่านหมายเอาประมาณคือ 1 คืบ 4  นิ้วนี้แล ​ ส่วนคำมีอาทิว่า ​ ชนิดที่มีกำหนด ​ ไม่ใช่ไม่มีกำหนด ​ นั้น ​ ท่านกล่าวไว้เพื่อแสดงว่า ​ ปถวีกสิณนั้นเป็นสิ่งที่มีกำหนดขอบเขต
  
-====วิธีนั่งเพ่งปถวีกสิณ====+===วิธีนั่งเพ่งปถวีกสิณ===
  
 เพราะเหตุที่ท่านแนะให้ทำกสิณอย่างมีกำหนดนั้น ​ ครั้นกะกำหนดประมาณเท่าที่กล่าวคือ 1  คืบ 4  นิ้วอย่างนั้นแล้ว ​ จึงทำสีที่ไม่กลืนกับสีดินอรุณให้ปรากฏขึ้นเป็นขอบเขตไว้ด้วยเกรียงไม้ ​ แต่นั้นจงอย่าใช้เกรียงไม้นั้น ​ พึงใช้เกรียงหินขัดทำให้เรียบเสมอเหมือนหน้ากลอง ​ ครั้นแล้วจงปัดกวาดสถานที่นั้นให้สะอาด ​ ไปสรงน้ำชำระกายแล้วจึงกลับมา ​ นั่งบนตั่งที่ตรึงอย่างมั่นคง ​ มีเท้าสูง 1  คืบ 4  นิ้ว ​ ซึ่งเตรียมตั้งไว้ ​ ณ  สถานที่ภายในระยะห่าง 2  ศอก 1  คืบแต่ดวงกสิณ เพราะเหตุที่ท่านแนะให้ทำกสิณอย่างมีกำหนดนั้น ​ ครั้นกะกำหนดประมาณเท่าที่กล่าวคือ 1  คืบ 4  นิ้วอย่างนั้นแล้ว ​ จึงทำสีที่ไม่กลืนกับสีดินอรุณให้ปรากฏขึ้นเป็นขอบเขตไว้ด้วยเกรียงไม้ ​ แต่นั้นจงอย่าใช้เกรียงไม้นั้น ​ พึงใช้เกรียงหินขัดทำให้เรียบเสมอเหมือนหน้ากลอง ​ ครั้นแล้วจงปัดกวาดสถานที่นั้นให้สะอาด ​ ไปสรงน้ำชำระกายแล้วจึงกลับมา ​ นั่งบนตั่งที่ตรึงอย่างมั่นคง ​ มีเท้าสูง 1  คืบ 4  นิ้ว ​ ซึ่งเตรียมตั้งไว้ ​ ณ  สถานที่ภายในระยะห่าง 2  ศอก 1  คืบแต่ดวงกสิณ
บรรทัด 257: บรรทัด 257:
 อีกประการหนึ่ง ​ ที่ชื่อว่า ​ ปถวี ​ นี้นั่นเทียว ​ ปรากฏเป็นที่รู้จักกันมากกว่าชื่ออื่น ​ ฉะนั้น ​ โยคีบุคคลพึงภาวนาด้วยคำบาลีว่า ​ ปถวี –ปถวี ​ หรือด้วยคำไทยว่า ​ ดิน–ดิน ​ ดังนี้ ​ ด้วยอำนาจเป็นชื่อที่ปรากฏนั่นเทียว ​ และบางครั้งพึงลืมตาดูนิมิต ​ บางครั้งพึงหลับตาเสียแล้วนึกทางใจ ​ อุคคหนิมิตยังไม่เกิดข้นตราบใด ​ ตราบนั้นจงภาวนาเรื่อย ๆ  ไปโดยนัยนี้แหละ ​ จนถึงร้อยครั้งพันครั้ง ​ หรือ ​ แม้จะมากครั้งกว่านั้นขึ้นไปก็ตาม อีกประการหนึ่ง ​ ที่ชื่อว่า ​ ปถวี ​ นี้นั่นเทียว ​ ปรากฏเป็นที่รู้จักกันมากกว่าชื่ออื่น ​ ฉะนั้น ​ โยคีบุคคลพึงภาวนาด้วยคำบาลีว่า ​ ปถวี –ปถวี ​ หรือด้วยคำไทยว่า ​ ดิน–ดิน ​ ดังนี้ ​ ด้วยอำนาจเป็นชื่อที่ปรากฏนั่นเทียว ​ และบางครั้งพึงลืมตาดูนิมิต ​ บางครั้งพึงหลับตาเสียแล้วนึกทางใจ ​ อุคคหนิมิตยังไม่เกิดข้นตราบใด ​ ตราบนั้นจงภาวนาเรื่อย ๆ  ไปโดยนัยนี้แหละ ​ จนถึงร้อยครั้งพันครั้ง ​ หรือ ​ แม้จะมากครั้งกว่านั้นขึ้นไปก็ตาม
  
-===ได้อุปจาระ,​ละนิวรณ์,​ได้ปฏิภาคพร้อมกัน===+==ได้อุปจาระ,​ละนิวรณ์,​ได้ปฏิภาคพร้อมกัน==
  
-====นิมิต 2====+===นิมิต 2===
  
-=====ได้อุคคหนิมิต=====+====ได้อุคคหนิมิต====
  
 เมื่อโยคีบุคคลภาวนาอยู่อย่างนั้น ​ กาลใด ​ หลับตานึกทางใจ ​ นิมิตในปถวีกสิณนั้น ​ มาสู่คลองจักษุ ​ คือเข้าถึงความเป็นอารมณ์ของมโนทวาริกชวนจิต ​ กาลนั้น ​ ย่อมได้ชื่อว่า ​ อุคคหนิมิต ​ เกิดแล้ว ​ นับแต่เวลาอุคคหนิมิตเกิดแล้วไป ​ โยคีบุคคลไม่ต้องนั่งภาวนาอยู่ ​ ณ  ที่ดวงกสิณนั้นอีก ​ พึงกลับเข้าสู่ที่อยู่ของตนแล้วนั่งภาวนาอยู่ ​ ณ  ที่นั้นเถิด เมื่อโยคีบุคคลภาวนาอยู่อย่างนั้น ​ กาลใด ​ หลับตานึกทางใจ ​ นิมิตในปถวีกสิณนั้น ​ มาสู่คลองจักษุ ​ คือเข้าถึงความเป็นอารมณ์ของมโนทวาริกชวนจิต ​ กาลนั้น ​ ย่อมได้ชื่อว่า ​ อุคคหนิมิต ​ เกิดแล้ว ​ นับแต่เวลาอุคคหนิมิตเกิดแล้วไป ​ โยคีบุคคลไม่ต้องนั่งภาวนาอยู่ ​ ณ  ที่ดวงกสิณนั้นอีก ​ พึงกลับเข้าสู่ที่อยู่ของตนแล้วนั่งภาวนาอยู่ ​ ณ  ที่นั้นเถิด
บรรทัด 269: บรรทัด 269:
 อนึ่ง ​ เพื่อจะหลีกเลี่ยงไม่ให้ชักช้าเสียเวลาในเพราะอันที่จะต้องล้างเท้า ​ โยคีบุคคลจำต้องมีรองเท้าชนิดชั้นเดียวกับไม้เท้าด้วย ​ เพื่อว่าถ้าสมาธิที่ยังอ่อนจะเสื่อมหายไปด้วย ​ เหตุอันไม่เป็นที่สบายบางอย่างแล้ว ​ โยคีบุคคลจะได้สวมรองเท้าถือไม้เท้าไปยังที่เดิมนั้น ​ นั่งเพ่งกสิณจนได้อุคคหนิมิตอีก ​ จึงกลับมาที่อยู่ของตน ​ นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรงภาวนาเรื่อย ๆ ไป อนึ่ง ​ เพื่อจะหลีกเลี่ยงไม่ให้ชักช้าเสียเวลาในเพราะอันที่จะต้องล้างเท้า ​ โยคีบุคคลจำต้องมีรองเท้าชนิดชั้นเดียวกับไม้เท้าด้วย ​ เพื่อว่าถ้าสมาธิที่ยังอ่อนจะเสื่อมหายไปด้วย ​ เหตุอันไม่เป็นที่สบายบางอย่างแล้ว ​ โยคีบุคคลจะได้สวมรองเท้าถือไม้เท้าไปยังที่เดิมนั้น ​ นั่งเพ่งกสิณจนได้อุคคหนิมิตอีก ​ จึงกลับมาที่อยู่ของตน ​ นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรงภาวนาเรื่อย ๆ ไป
  
-=====ได้ปฏิภาคนิมิต=====+====ได้ปฏิภาคนิมิต====
  
 อันโยคีบุคคลนั้นพึงพยายามนึกถึงอุคคหนิมิตนั้นให้บ่อย ๆ  ทำกัมมัฏฐานให้เป็นอันความนึกตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ อันความนึกชอบตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ เมื่อโยคีบุคคลทำกัมมัฏฐานให้เป็นความนึกตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ อันความนึกชอบตะล่อมมาไว้ในจิตแล้วอย่างนี้ ​ นิวรณ์ทั้งหลายมีกามฉันทะเป็นต้นก็จะสงบลง ​ และกิเลสทั้งหลายอันตั้งอยู่ในฐานะเดียวกันกับนิวรณ์นั้น ​ ก็จะระงับหายไปโดยลำดับแห่งภาวนา ​ จิตย่อมตั้งมั่นด้วยอุปจารสมาธิ ​ ปฏิภาคนิมิต ​ ย่อมเกิดขึ้น ​ ด้วยประการฉะนี้ อันโยคีบุคคลนั้นพึงพยายามนึกถึงอุคคหนิมิตนั้นให้บ่อย ๆ  ทำกัมมัฏฐานให้เป็นอันความนึกตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ อันความนึกชอบตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ เมื่อโยคีบุคคลทำกัมมัฏฐานให้เป็นความนึกตะล่อมมาไว้ในจิตแล้ว ​ อันความนึกชอบตะล่อมมาไว้ในจิตแล้วอย่างนี้ ​ นิวรณ์ทั้งหลายมีกามฉันทะเป็นต้นก็จะสงบลง ​ และกิเลสทั้งหลายอันตั้งอยู่ในฐานะเดียวกันกับนิวรณ์นั้น ​ ก็จะระงับหายไปโดยลำดับแห่งภาวนา ​ จิตย่อมตั้งมั่นด้วยอุปจารสมาธิ ​ ปฏิภาคนิมิต ​ ย่อมเกิดขึ้น ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-=====ความแตกต่างของนิมิตทั้ง 2=====+====ความแตกต่างของนิมิตทั้ง 2====
  
 ในนิมิตทั้ง 2  นั้น ​ ความแปลกกันแห่งอุคคหนิมิตอันก่อนกับปฏิภาคนิมิตนี้ ​ ดังนี้ คือ ​ ในขั้นอุคคหนิมิตยังมีโทษแห่งกสิณปรากฏให้เห็นอยู่ได้ ​ ส่วนปฏิภาคนิมิตย่อมปรากฏเป็นสิ่งที่บริสุทธิ์ผุดผ่องกว่าอุคคหนิมิตนั้นตั้งร้อยเท่าพันเท่า ​ เป็นดุจชำแรกอุคคหนิมิตออกมาคล้ายกับดวงแว่นที่ถอดออกจากถุง ​ คล้ายถาดสังข์ที่ขัดดีแล้ว ​ คล้ายดวงจันทร์ที่ออกจากกลีบเมฆ ​ และคล้ายหมู่นกยางอยู่ที่หน้าเมฆ ในนิมิตทั้ง 2  นั้น ​ ความแปลกกันแห่งอุคคหนิมิตอันก่อนกับปฏิภาคนิมิตนี้ ​ ดังนี้ คือ ​ ในขั้นอุคคหนิมิตยังมีโทษแห่งกสิณปรากฏให้เห็นอยู่ได้ ​ ส่วนปฏิภาคนิมิตย่อมปรากฏเป็นสิ่งที่บริสุทธิ์ผุดผ่องกว่าอุคคหนิมิตนั้นตั้งร้อยเท่าพันเท่า ​ เป็นดุจชำแรกอุคคหนิมิตออกมาคล้ายกับดวงแว่นที่ถอดออกจากถุง ​ คล้ายถาดสังข์ที่ขัดดีแล้ว ​ คล้ายดวงจันทร์ที่ออกจากกลีบเมฆ ​ และคล้ายหมู่นกยางอยู่ที่หน้าเมฆ
บรรทัด 283: บรรทัด 283:
 (หน้าที่ 209) (หน้าที่ 209)
  
-====สมาธิ ​ 2====+===สมาธิ ​ 2===
  
 แหละสมาธินั้นมี ​  ​2 ​  ​อย่าง ​ คือ ​  ​อุปจารสมาธิ ​ 1   ​อัปปนาสมาธิ ​ 1   ​จิตในอุปจารภูมิ ​ หรือในปฎิลาภภูมิ ​  ( ภูมที่ได้อัปปนาฌาน )   ​ย่อมตั้งมั่นด้วยเหตุ ​ 2  ประการ ​ คือ ​ ใน ​ 2  ภูมินั้น ​  ​จิตในอุปจารภูมิย่อมตั้งมั่น ​  ​เพราะการประหานเสียได้ซึ่งนิวรณ์ ​  ​จิตในปฎิลาภภูมิย่อมตั้งมั่นเพราะความบังเกิดขึ้นแห่งองค์ฌาน แหละสมาธินั้นมี ​  ​2 ​  ​อย่าง ​ คือ ​  ​อุปจารสมาธิ ​ 1   ​อัปปนาสมาธิ ​ 1   ​จิตในอุปจารภูมิ ​ หรือในปฎิลาภภูมิ ​  ( ภูมที่ได้อัปปนาฌาน )   ​ย่อมตั้งมั่นด้วยเหตุ ​ 2  ประการ ​ คือ ​ ใน ​ 2  ภูมินั้น ​  ​จิตในอุปจารภูมิย่อมตั้งมั่น ​  ​เพราะการประหานเสียได้ซึ่งนิวรณ์ ​  ​จิตในปฎิลาภภูมิย่อมตั้งมั่นเพราะความบังเกิดขึ้นแห่งองค์ฌาน
บรรทัด 295: บรรทัด 295:
 (หน้าที่ 210) (หน้าที่ 210)
  
-====สัปปายะ 7====+===สัปปายะ 7===
  
-=====ระวัง 7 ข้อเพื่อรักษาปฏิภาคนิมิตที่เพิ่งได้มา=====+====ระวัง 7 ข้อเพื่อรักษาปฏิภาคนิมิตที่เพิ่งได้มา====
  
 ต้องเว้นอสัปปายะ 7  และเสพสัปปายะ ​ 7 ต้องเว้นอสัปปายะ 7  และเสพสัปปายะ ​ 7
บรรทัด 374: บรรทัด 374:
 (หน้าที่ 213) (หน้าที่ 213)
  
-====อัปปนาโกศล ​ 10==== +===อัปปนาโกศล ​ 10=== 
-=====บริหาร 10 ข้อให้บรรลุอัปปนา=====+====บริหาร 10 ข้อให้บรรลุอัปปนา====
  
 ถ้ายังไม่สำเร็จอัปปนาฌาน ต้องบำเพ็ญอัปปนาโกศล ​ 10  ประการ ถ้ายังไม่สำเร็จอัปปนาฌาน ต้องบำเพ็ญอัปปนาโกศล ​ 10  ประการ
บรรทัด 467: บรรทัด 467:
 หนึ่ง ​ ความฉลาดในนิมิตที่ประสงค์เอาในอัปปนาโกศลกถานี้ ​ ได้แก่ความฉลาดในการรักษาซึ่งนิมิตที่ได้มาแล้วด้วยการภาวนานั้น หนึ่ง ​ ความฉลาดในนิมิตที่ประสงค์เอาในอัปปนาโกศลกถานี้ ​ ได้แก่ความฉลาดในการรักษาซึ่งนิมิตที่ได้มาแล้วด้วยการภาวนานั้น
  
-=====โพชฌงค์ ​7=====+====โพชฌงค์==== 
 + 
  
 '''​4. ​ โดยยกจิตในสมัยที่ควรยก '''​4. ​ โดยยกจิตในสมัยที่ควรยก
บรรทัด 801: บรรทัด 803:
 พฤติการณ์ที่เป็นไป ​ ในละอองดอกไม้, ​ ในใบบัว, ​ ในใยแมงมุม, ​ ในเรือ และในขวดน้ำมัน ​ ของบุคคลทั้งหลาย ​ มีแมลงผึ้งเป็นต้น ​ ซึ่งท่านพรรณนาไว้ด้วยดีแล้วในอรรถกถา ​ ฉันใด ​ โยคีบุคคลพึงภาวนาปลดเปลื้องภาวนาจิตจากภาวะที่หดหู่ ​ และภาวะที่ฟุ้งซ่าน ​ โดยสิ้นเชิง ​ แล้วประคองภาวนาจิตให้บ่ายหน้าเฉพาะจดจ่ออยู่ในปฏิภาคนิมิต ​ ฉันนั้น ​ ฉะนี้แล พฤติการณ์ที่เป็นไป ​ ในละอองดอกไม้, ​ ในใบบัว, ​ ในใยแมงมุม, ​ ในเรือ และในขวดน้ำมัน ​ ของบุคคลทั้งหลาย ​ มีแมลงผึ้งเป็นต้น ​ ซึ่งท่านพรรณนาไว้ด้วยดีแล้วในอรรถกถา ​ ฉันใด ​ โยคีบุคคลพึงภาวนาปลดเปลื้องภาวนาจิตจากภาวะที่หดหู่ ​ และภาวะที่ฟุ้งซ่าน ​ โดยสิ้นเชิง ​ แล้วประคองภาวนาจิตให้บ่ายหน้าเฉพาะจดจ่ออยู่ในปฏิภาคนิมิต ​ ฉันนั้น ​ ฉะนี้แล
  
-===ได้ปฐมฌาน=== +==ได้ปฐมฌาน== 
-====อธิบายสภาพของผู้ได้ฌานอย่างละเอียด====+===อธิบายสภาพของผู้ได้ฌานอย่างละเอียด===
  
 ก็แหละเมื่อโยคีบุคคลประคองภาวนาจิตให้บ่ายหน้าเฉพาะจดจ่อในปฏิภาคนิมิตอยู่ด้วยอาการอย่างนี้นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ทำปถวีกสิณอันปรากฏอยู่ด้วยอำนาจภาวนาว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ นั้นนั่นแหละให้เป็นอารมณ์เกิดขึ้นตัดภวังคจิต ​ เหมือนจะเตือนให้รู้ว่า ​ อัปปนาสมาธิจักสำเร็จเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ถัดจากนั้น ​ ชวนจิตเล่นไปในอารมณ์นั้นนั่นแหละ ​ 4  ขณะบ้าง ​ 5 ขณะบ้าง ​ ในชวนจิต 4  หรือ ​ 5  ขณะนั้น ​ ดวงหนึ่งในขณะสุดท้ายจัดเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิต ​ (อัปปนาจิต) ​ อีก 3  หรือ 4  ดวงที่เหลือข้างต้นคงเป็น ​ กามาวจรกุศลจิต ก็แหละเมื่อโยคีบุคคลประคองภาวนาจิตให้บ่ายหน้าเฉพาะจดจ่อในปฏิภาคนิมิตอยู่ด้วยอาการอย่างนี้นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ทำปถวีกสิณอันปรากฏอยู่ด้วยอำนาจภาวนาว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ นั้นนั่นแหละให้เป็นอารมณ์เกิดขึ้นตัดภวังคจิต ​ เหมือนจะเตือนให้รู้ว่า ​ อัปปนาสมาธิจักสำเร็จเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ถัดจากนั้น ​ ชวนจิตเล่นไปในอารมณ์นั้นนั่นแหละ ​ 4  ขณะบ้าง ​ 5 ขณะบ้าง ​ ในชวนจิต 4  หรือ ​ 5  ขณะนั้น ​ ดวงหนึ่งในขณะสุดท้ายจัดเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิต ​ (อัปปนาจิต) ​ อีก 3  หรือ 4  ดวงที่เหลือข้างต้นคงเป็น ​ กามาวจรกุศลจิต
  
-====อัปปนาชวนวิถีจิต==== +===อัปปนาชวนวิถีจิต=== 
-'''​+
 จิตเหล่าใดซึ่งมี ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ เอกัคคตา ​ (จิตเตกัคคตา) ​ มีกำลังมากกว่าจิตปกติ ​ จิตเหล่านั้นเรียกว่า ​ บริกรรม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุปรุงแต่งอัปปนา ​ เรียกว่า ​ อุปจาระ ​ บ้าง ​ เพราะเหตุอยู่ใกล้หรือเฉียดไปใกล้อัปปนา ​ เหมือนกับสถานที่ซึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านและใกล้นครเป็นต้น ​ เขาเรียกกันว่า ​ อุปจาระแห่งบ้านและอุปจาระแห่งนคร ​ ฉะนั้น ​ และเรียกว่า ​ อนุโลม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุสมควรแก่อัปปนา ​ ตั้งแต่ในตอนก่อนแต่นี้และตอนหลังแห่งบริกรรมทั้งหลายมา ​ แหละในกามวจรชวนจิตนั้น ​ ดวงใดที่เกิดภายหลังเขาทั้งหมด จิตเหล่าใดซึ่งมี ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ เอกัคคตา ​ (จิตเตกัคคตา) ​ มีกำลังมากกว่าจิตปกติ ​ จิตเหล่านั้นเรียกว่า ​ บริกรรม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุปรุงแต่งอัปปนา ​ เรียกว่า ​ อุปจาระ ​ บ้าง ​ เพราะเหตุอยู่ใกล้หรือเฉียดไปใกล้อัปปนา ​ เหมือนกับสถานที่ซึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านและใกล้นครเป็นต้น ​ เขาเรียกกันว่า ​ อุปจาระแห่งบ้านและอุปจาระแห่งนคร ​ ฉะนั้น ​ และเรียกว่า ​ อนุโลม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุสมควรแก่อัปปนา ​ ตั้งแต่ในตอนก่อนแต่นี้และตอนหลังแห่งบริกรรมทั้งหลายมา ​ แหละในกามวจรชวนจิตนั้น ​ ดวงใดที่เกิดภายหลังเขาทั้งหมด
  
บรรทัด 840: บรรทัด 842:
 ฉะนี้ ​ อัปปนาจึงเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเท่านั้น ​ แต่นั้นก็ตกภวังค์ ​ ครั้นแล้วอาวัชชนจิตตัดภวังค์เกิดขึ้นเพื่อพิจารณาฌาน ​ แต่นั้นชวนจิตก็ทำหน้าที่พิจารณาฌานต่อไป ฉะนี้ ​ อัปปนาจึงเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเท่านั้น ​ แต่นั้นก็ตกภวังค์ ​ ครั้นแล้วอาวัชชนจิตตัดภวังค์เกิดขึ้นเพื่อพิจารณาฌาน ​ แต่นั้นชวนจิตก็ทำหน้าที่พิจารณาฌานต่อไป
  
-====ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา====+===ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา===
 ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเพียงเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​ ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเพียงเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​
  
บรรทัด 848: บรรทัด 850:
 #​ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์ #​ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์
  
-=====ส่วนที่ 1 องค์ฌาน 5 (ได้สงัดแล้วแน่นอนจากกามทั้งหลาย เป็นต้น)=====+====ส่วนที่ 1 องค์ฌาน 5 (ได้สงัดแล้วแน่นอนจากกามทั้งหลาย เป็นต้น)====
  
 ในคำบาลีอันแสดงถึงองค์สำหรับละของฌานนั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ – ในคำบาลีอันแสดงถึงองค์สำหรับละของฌานนั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 938: บรรทัด 940:
 อรรถาธิบายความในคำว่า ​ สงัดแล้วแน่นอนจากกามทั้งหลาย ​ สงัดแล้วแน่นอนจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ​ นี้ ​ ยุติเพียงเท่านี้ อรรถาธิบายความในคำว่า ​ สงัดแล้วแน่นอนจากกามทั้งหลาย ​ สงัดแล้วแน่นอนจากอกุศลธรรมทั้งหลาย ​ นี้ ​ ยุติเพียงเท่านี้
  
-======องค์ฌาน 5======+=====องค์ฌาน 5=====
  
 ก็แหละ ​ ครั้นข้าพเจ้าได้แสดงองค์สำหรับละของปฐมฌาน ​ ด้วยอรรถาธิบายเพียงเท่านี้แล้ว ​ บัดนี้เพื่อจะแสดงองค์ที่ประกอบของปฐมฌานนั้น ​ ข้าพเจ้าจะอรรถาธิบายคำว่า ​ มีวิตกมีวิจาร ​ เป็นต้นต่อไป – ก็แหละ ​ ครั้นข้าพเจ้าได้แสดงองค์สำหรับละของปฐมฌาน ​ ด้วยอรรถาธิบายเพียงเท่านี้แล้ว ​ บัดนี้เพื่อจะแสดงองค์ที่ประกอบของปฐมฌานนั้น ​ ข้าพเจ้าจะอรรถาธิบายคำว่า ​ มีวิตกมีวิจาร ​ เป็นต้นต่อไป –
บรรทัด 990: บรรทัด 992:
 (หน้าที่ 240) (หน้าที่ 240)
  
-======ปีติ ​ 5======+=====ปีติ ​ 5=====
  
 ในคำว่า ​ ปีติและสุข ​ นี้ ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ธรรมชาติใดที่ทำให้เอิบอิ่ม ​ ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ​ ปีติ ​ ปีตินั้นมีความเอิบอิ่มเป็นลักษณะ ​ มีอันทำกายและใจให้เอิบอิ่มเป็นกิจ ​ หรือมีอันแผ่ซ่านไปในกายและกายเป็นกิจก็ได้ ​ มีอันทำกายและใจให้ฟูขึ้นเป็นอาการปรากฏ ในคำว่า ​ ปีติและสุข ​ นี้ ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ธรรมชาติใดที่ทำให้เอิบอิ่ม ​ ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ​ ปีติ ​ ปีตินั้นมีความเอิบอิ่มเป็นลักษณะ ​ มีอันทำกายและใจให้เอิบอิ่มเป็นกิจ ​ หรือมีอันแผ่ซ่านไปในกายและกายเป็นกิจก็ได้ ​ มีอันทำกายและใจให้ฟูขึ้นเป็นอาการปรากฏ
บรรทัด 1082: บรรทัด 1084:
 คำว่า ​ วิหรติ ​ ที่แปลว่า ​ อยู่ ​ นั้น ​ อธิบายว่า ​ โยคีบุคลผู้พรั่งพร้อมด้วยฌานมีประการดังกล่าวฉะนี้ ​ ย่อมยังการกระทำของอัตภาพร่างกาย ​ คือการประพฤติ, ​ การเลี้ยง, ​ การเป็นไป, ​ การให้เป็นไป, ​ การเที่ยวไป ​ และการผัดผ่อนแห่งอัตภาพร่างกาย ​ ให้สำเร็จโดยการอยู่ด้วยอิริยาบทชนิดที่สมควรแก่อัตภาพนั้น ​ ข้อนี้สมด้วยพระบาลีที่ทรงแสดงไว้ในคัมภีร์วิภังค์ว่า ​ คำว่า ​ ย่อมอยู่ ​ นั้น ​ คือ ​ ย่อมกระทำ ​ ย่อมประพฤติ ​ ย่อมเลี้ยง ​ ย่อมเป็นไป ​ ย่อมให้เป็นไป ​ ย่อมเที่ยวไป ​ ย่อมเดินไป ​  ​เพราะเหตุนั้น ​ จึงเรียกว่า ​ วิหรติ ​ ย่อมอยู่ ​ ฉะนี้ คำว่า ​ วิหรติ ​ ที่แปลว่า ​ อยู่ ​ นั้น ​ อธิบายว่า ​ โยคีบุคลผู้พรั่งพร้อมด้วยฌานมีประการดังกล่าวฉะนี้ ​ ย่อมยังการกระทำของอัตภาพร่างกาย ​ คือการประพฤติ, ​ การเลี้ยง, ​ การเป็นไป, ​ การให้เป็นไป, ​ การเที่ยวไป ​ และการผัดผ่อนแห่งอัตภาพร่างกาย ​ ให้สำเร็จโดยการอยู่ด้วยอิริยาบทชนิดที่สมควรแก่อัตภาพนั้น ​ ข้อนี้สมด้วยพระบาลีที่ทรงแสดงไว้ในคัมภีร์วิภังค์ว่า ​ คำว่า ​ ย่อมอยู่ ​ นั้น ​ คือ ​ ย่อมกระทำ ​ ย่อมประพฤติ ​ ย่อมเลี้ยง ​ ย่อมเป็นไป ​ ย่อมให้เป็นไป ​ ย่อมเที่ยวไป ​ ย่อมเดินไป ​  ​เพราะเหตุนั้น ​ จึงเรียกว่า ​ วิหรติ ​ ย่อมอยู่ ​ ฉะนี้
  
-=====ส่วน 2 ละองค์ 5  และประกอบด้วยองค์ 5=====+====ส่วน 2 ละองค์ 5  และประกอบด้วยองค์ 5====
  
 ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ ​ 5  ประกอบด้วยองค์ ​ 5  นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ – ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ ​ 5  ประกอบด้วยองค์ ​ 5  นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 1150: บรรทัด 1152:
 องค์หนึ่งเหมือนกัน ​ เพราะเหตุที่ทรงเทศนาไว้ในคัมภีร์ภวังค์ว่า ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ และ ​ จิตเตกัคคตา ​ ชื่อว่า ​ ฌาน ​ ดังนี้ ​ อธิบายว่า ​ การที่พระผู้มีพระภาคทรงเทศนาพระบาลีไว้โดยนัยมีอาทิว่า ​ สวิตกฺกํ ​ สวิจารํ ​ ด้วยข้อพระพุทธาธิบายอย่างใด ​ ก็เป็นอันว่าข้อพระพุทธาธิบายนั้น ​ พระองค์ทรงประกาศแสดงไขไว้แล้วว่า ​ จิตเตกัคคตา ​ นั้น ​ ท่านไม่ได้ทรงถือเอาในพระบาลีที่แสดงถึงฌานนั้น ​ ด้วยประการฉะนี้ องค์หนึ่งเหมือนกัน ​ เพราะเหตุที่ทรงเทศนาไว้ในคัมภีร์ภวังค์ว่า ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ และ ​ จิตเตกัคคตา ​ ชื่อว่า ​ ฌาน ​ ดังนี้ ​ อธิบายว่า ​ การที่พระผู้มีพระภาคทรงเทศนาพระบาลีไว้โดยนัยมีอาทิว่า ​ สวิตกฺกํ ​ สวิจารํ ​ ด้วยข้อพระพุทธาธิบายอย่างใด ​ ก็เป็นอันว่าข้อพระพุทธาธิบายนั้น ​ พระองค์ทรงประกาศแสดงไขไว้แล้วว่า ​ จิตเตกัคคตา ​ นั้น ​ ท่านไม่ได้ทรงถือเอาในพระบาลีที่แสดงถึงฌานนั้น ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-=====ส่วน 3 มีความงาม 3  และสมบูรณ์ด้วยลักษณะ 10=====+====ส่วน 3 มีความงาม 3  และสมบูรณ์ด้วยลักษณะ 10====
  
 ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวสังเขปไว้ว่า ​ มีความงาม ​ 3  สมบูรณ์ด้วยลักษณะ ​ 10  นั้น ​ มีอรรถาธิบายโดยพิศดารดังต่อไปนี้ – ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวสังเขปไว้ว่า ​ มีความงาม ​ 3  สมบูรณ์ด้วยลักษณะ ​ 10  นั้น ​ มีอรรถาธิบายโดยพิศดารดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 1234: บรรทัด 1236:
 ฉะนั้น ​ ความร่าเริงใจอันเป็นกิจแห่งญาณ ​ ท่านจึงกล่าวว่า ​ เป็นความงามในที่สุดฉะนี้ ฉะนั้น ​ ความร่าเริงใจอันเป็นกิจแห่งญาณ ​ ท่านจึงกล่าวว่า ​ เป็นความงามในที่สุดฉะนี้
  
-=====ส่วน 4 ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์=====+====ส่วน 4 ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์====
  
 บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ​ ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์ ​ ต่อไป บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ​ ได้บรรลุปฐมฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์ ​ ต่อไป
บรรทัด 1244: บรรทัด 1246:
 แหละมณฑลแห่งดินคือวงกลมแห่งดิน ​ เรียกว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ด้วยความหมายว่า ​ ดินทั้งสิ้น ​ นิมิต ​  ​ที่ได้เพราะอาศัยปถวีกสิณนั้นก็ชื่อว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ฌานที่ได้นิมิตปถวีกสิณก็เรียกว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ใน 2  อย่างนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบว่า ​ ฌานปถวีกสิณ ​ ประสงค์เอาในอรรถาธิบายนี้ ​ (มิใช่นิมิตปถวีกสิณ) ​ ข้าพเจ้าหมายเอาปถวีกสิณนั้น ​ จึงได้กล่าวไว้ว่า ​ ปฐมฌานปถวีกสิณ….ย่อมเป็นอันโยคีบุคคลนั้นได้บรรลุแล้ว ​ ด้วยประการฉะนี้ แหละมณฑลแห่งดินคือวงกลมแห่งดิน ​ เรียกว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ด้วยความหมายว่า ​ ดินทั้งสิ้น ​ นิมิต ​  ​ที่ได้เพราะอาศัยปถวีกสิณนั้นก็ชื่อว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ฌานที่ได้นิมิตปถวีกสิณก็เรียกว่า ​ ปถวีกสิณ ​ ใน 2  อย่างนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบว่า ​ ฌานปถวีกสิณ ​ ประสงค์เอาในอรรถาธิบายนี้ ​ (มิใช่นิมิตปถวีกสิณ) ​ ข้าพเจ้าหมายเอาปถวีกสิณนั้น ​ จึงได้กล่าวไว้ว่า ​ ปฐมฌานปถวีกสิณ….ย่อมเป็นอันโยคีบุคคลนั้นได้บรรลุแล้ว ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-====ต้องพยายามจำอาการที่บรรลุฌาณไว้ให้แม่นยำ====+===ต้องพยายามจำอาการที่บรรลุฌาณไว้ให้แม่นยำ===
  
 ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุปฐมฌานอย่างนี้แล้ว ​ อันโยคีบุคคลนั้นพึงกำหนดสังเกตอาการทั้งหลายขณะที่ได้บรรลุไว้ให้แม่นยำ ​ เหมือนนายขมังธนูผู้ยิงขนทราย ​ และเหมือนดังพ่อครัว  ​ ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุปฐมฌานอย่างนี้แล้ว ​ อันโยคีบุคคลนั้นพึงกำหนดสังเกตอาการทั้งหลายขณะที่ได้บรรลุไว้ให้แม่นยำ ​ เหมือนนายขมังธนูผู้ยิงขนทราย ​ และเหมือนดังพ่อครัว  ​
บรรทัด 1306: บรรทัด 1308:
 เพราะเหตุฉะนั้น ​ อันโยคีบุคคลผู้ใคร่จะให้ฌานนั้นดำรงอยู่ได้นาน ๆ  ก็จงชำระธรรมทั้งหลายอันเป็นข้าศึกแก่สมาธิมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้นให้สะอาด ​ แล้วจึงเข้าสู่ฌานสมาบัตินั้นเถิด เพราะเหตุฉะนั้น ​ อันโยคีบุคคลผู้ใคร่จะให้ฌานนั้นดำรงอยู่ได้นาน ๆ  ก็จงชำระธรรมทั้งหลายอันเป็นข้าศึกแก่สมาธิมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้นให้สะอาด ​ แล้วจึงเข้าสู่ฌานสมาบัตินั้นเถิด
  
-====การขยายปฏิภาคนิมิต====+===การขยายปฏิภาคนิมิต===
  
 อีกประการหนึ่ง ​ โยคีบุคคลผู้ฌานลาภีนั้น ​ พึงขยายปฏิภาคนิมิตตามที่ได้มาแล้วทั้งนี้ ​ เพื่อความเจริญไพบูลย์แห่งสมาธิภาวนา ​ ภูมิที่จะขยายปฏิภาคนิมิตนั้นมี 2 ภูมิ ​ ได้แก่ ​ อุปจารภูมิ ​ หรือ ​ อัปปนาภูมิ ​ กล่าวคือ ​ โยคีบุคคลบรรลุถึงอุปจารภูมิแล้วขยายปฏิภาคนิมิตนั้นก็ได้ ​ บรรลุถึงอัปปนาภูมิแล้วขยายปฏิภาคนิมิตนั้นก็ได้ ​ แต่ที่จริงแล้ว ​ จะพึงขยายได้ในฐานะอันเดียว ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ข้าพเจ้าจึงกล่าวไว้ว่า ​ พึงขยายปฏิภาคนิมิตตามที่ได้มาแล้ว ​ ฉะนี้ อีกประการหนึ่ง ​ โยคีบุคคลผู้ฌานลาภีนั้น ​ พึงขยายปฏิภาคนิมิตตามที่ได้มาแล้วทั้งนี้ ​ เพื่อความเจริญไพบูลย์แห่งสมาธิภาวนา ​ ภูมิที่จะขยายปฏิภาคนิมิตนั้นมี 2 ภูมิ ​ ได้แก่ ​ อุปจารภูมิ ​ หรือ ​ อัปปนาภูมิ ​ กล่าวคือ ​ โยคีบุคคลบรรลุถึงอุปจารภูมิแล้วขยายปฏิภาคนิมิตนั้นก็ได้ ​ บรรลุถึงอัปปนาภูมิแล้วขยายปฏิภาคนิมิตนั้นก็ได้ ​ แต่ที่จริงแล้ว ​ จะพึงขยายได้ในฐานะอันเดียว ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ข้าพเจ้าจึงกล่าวไว้ว่า ​ พึงขยายปฏิภาคนิมิตตามที่ได้มาแล้ว ​ ฉะนี้
บรรทัด 1322: บรรทัด 1324:
 เหมือนอย่างลูกนกหงส์ประเภทที่มีกำลังเร็ว ​ นับแต่เวลาที่ขนปีกทั้งหลายงอกขึ้นเต็มที่แล้ว ​ มันฝึกบินโฉบขึ้นไปคราวละเล็กละน้อยก่อน ​ ครั้นฝึกให้ชำนิชำนาญแล้วย่อมบินไปถึงที่ใกล้โลกพระจันทร์โลกพระอาทิตย์ก็ได้ตามลำดับ ​ ฉันใด ​ ภิกษุผู้ฌานลาภีก็ฉันเดียวกันนั่นเทียว ​ คือ ​ เมื่อกำหนดขยายนิมิตออกไปโดยนัยที่กล่าวแล้ว ​ ย่อมขยายออกไปจนถึงจักรวาลหนึ่งเป็นกำหนด ​ หรือแม้ขยายให้กว้างใหญ่ยิ่งขึ้นไปกว่านั้นก็ได้ ​ เมื่อเป็นเช่นนี้ ​ ปฏิภาคนิมิตนั้นย่อมจะปรากฏแก่เธอในที่จะขยายไปแล้วขยายไปแล้วนั้นๆ ​ เหมือนดั่งโคตัวผู้ที่ถูกเกี่ยวไว้ด้วยขอตั้งร้อยอัน ​ ณ  ตรงที่ดอนที่ลุ่มแห่งแผ่นดิน ​ ตรงที่คดโค้งแห่งแม่น้ำ ​ และตรงที่ลดหลั่นแห่งภูเขา เหมือนอย่างลูกนกหงส์ประเภทที่มีกำลังเร็ว ​ นับแต่เวลาที่ขนปีกทั้งหลายงอกขึ้นเต็มที่แล้ว ​ มันฝึกบินโฉบขึ้นไปคราวละเล็กละน้อยก่อน ​ ครั้นฝึกให้ชำนิชำนาญแล้วย่อมบินไปถึงที่ใกล้โลกพระจันทร์โลกพระอาทิตย์ก็ได้ตามลำดับ ​ ฉันใด ​ ภิกษุผู้ฌานลาภีก็ฉันเดียวกันนั่นเทียว ​ คือ ​ เมื่อกำหนดขยายนิมิตออกไปโดยนัยที่กล่าวแล้ว ​ ย่อมขยายออกไปจนถึงจักรวาลหนึ่งเป็นกำหนด ​ หรือแม้ขยายให้กว้างใหญ่ยิ่งขึ้นไปกว่านั้นก็ได้ ​ เมื่อเป็นเช่นนี้ ​ ปฏิภาคนิมิตนั้นย่อมจะปรากฏแก่เธอในที่จะขยายไปแล้วขยายไปแล้วนั้นๆ ​ เหมือนดั่งโคตัวผู้ที่ถูกเกี่ยวไว้ด้วยขอตั้งร้อยอัน ​ ณ  ตรงที่ดอนที่ลุ่มแห่งแผ่นดิน ​ ตรงที่คดโค้งแห่งแม่น้ำ ​ และตรงที่ลดหลั่นแห่งภูเขา
  
-====วสี 5==== +===วสี 5=== 
-=====ฝึกความชำนาญในฌาน 5 ประการ=====+====ฝึกความชำนาญในฌาน 5 ประการ====
  
  
บรรทัด 1408: บรรทัด 1410:
 (หน้าที่ 262) (หน้าที่ 262)
  
-===ได้ทุติยฌาน===+==ได้ทุติยฌาน==
  
 ก็แหละ ​ โยคีบุคคลผู้มีวสีอันได้สั่งสมดีแล้วในวสี 5 ประการเหล่านี้ ​ ออกจากปฐมฌานที่ทำให้คล่องแคล่วดีแล้ว ​ แต่นั้นพิจารณาเห็นโทษในปฐมฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อนิวรณ์อันเป็นข้าศึก ​ เพราะเพิ่งละนิวรณ์ได้เป็นครั้งแรก ​ และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพลเพราะวิตกและวิจารเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้วพึงมนสิการถึง ​ ทุติยฌาน ​ โดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในปฐมฌานแล้วพึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุซึ่งทุติยฌานต่อไป ก็แหละ ​ โยคีบุคคลผู้มีวสีอันได้สั่งสมดีแล้วในวสี 5 ประการเหล่านี้ ​ ออกจากปฐมฌานที่ทำให้คล่องแคล่วดีแล้ว ​ แต่นั้นพิจารณาเห็นโทษในปฐมฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อนิวรณ์อันเป็นข้าศึก ​ เพราะเพิ่งละนิวรณ์ได้เป็นครั้งแรก ​ และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพลเพราะวิตกและวิจารเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้วพึงมนสิการถึง ​ ทุติยฌาน ​ โดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในปฐมฌานแล้วพึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุซึ่งทุติยฌานต่อไป
บรรทัด 1414: บรรทัด 1416:
 แหละการใด ​ เมื่อโยคีบุคคลนั้นออกจากปฐมฌาน ​ มีสติสัมปชัญญะพิจารณาถึงองค์ฌานอยู่นั้น ​ วิตกและวิจารย่อมจะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ ปีติ, ​ สุข ​ และเอกัคคตาย่อมจะปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแล ​ อย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ ว่า ​ ปถวี -  ปถวี ​  ​หรือ ​ ดิน -  ดิน ​ ฉะนี้ ​ เพื่อละเสียซึ่งองค์ฌานที่หยาบ ​ และให้ได้มาซึ่งองค์ฌานที่ละเอียดอยู่นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ทำปถวีกสิณนั้นนั่นแลให้เป็นอารมณ์ตัดภวังคจิตเกิดขึ้น ​ เหมือนจะบอกให้รู้ว่า ​ ทุติยฌานจักเกิดขึ้นเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ต่อแต่นั้น ​ ชวนจิตก็จะแล่นไปในอารมณ์นั้นนั่นแหละ 4  ขณะบ้าง ​ 5  ขณะบ้าง ​ (ตามควรแก่โยคีที่เป็นติกขบุคคลและมันทบุคคล) ​ บรรดาชวนจิตเหล่านั้น ​ ดวงสุดท้าย 1  ดวงเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิตทุติยฌาน ​ ดวงที่เหลือนอกนี้เป็น ​ กามาวจรกุศลจิต ​ เหมือนดังที่กล่าวมาแล้วในปฐมฌานนั้นทุกประการ แหละการใด ​ เมื่อโยคีบุคคลนั้นออกจากปฐมฌาน ​ มีสติสัมปชัญญะพิจารณาถึงองค์ฌานอยู่นั้น ​ วิตกและวิจารย่อมจะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ ปีติ, ​ สุข ​ และเอกัคคตาย่อมจะปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแล ​ อย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ ว่า ​ ปถวี -  ปถวี ​  ​หรือ ​ ดิน -  ดิน ​ ฉะนี้ ​ เพื่อละเสียซึ่งองค์ฌานที่หยาบ ​ และให้ได้มาซึ่งองค์ฌานที่ละเอียดอยู่นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ทำปถวีกสิณนั้นนั่นแลให้เป็นอารมณ์ตัดภวังคจิตเกิดขึ้น ​ เหมือนจะบอกให้รู้ว่า ​ ทุติยฌานจักเกิดขึ้นเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ต่อแต่นั้น ​ ชวนจิตก็จะแล่นไปในอารมณ์นั้นนั่นแหละ 4  ขณะบ้าง ​ 5  ขณะบ้าง ​ (ตามควรแก่โยคีที่เป็นติกขบุคคลและมันทบุคคล) ​ บรรดาชวนจิตเหล่านั้น ​ ดวงสุดท้าย 1  ดวงเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิตทุติยฌาน ​ ดวงที่เหลือนอกนี้เป็น ​ กามาวจรกุศลจิต ​ เหมือนดังที่กล่าวมาแล้วในปฐมฌานนั้นทุกประการ
  
-====ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา====+===ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา===
 ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​ ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​
  
บรรทัด 1424: บรรทัด 1426:
 (หน้าที่ 263) (หน้าที่ 263)
  
-=====ส่วน 1 องค์ฌาน 3 (วิตกและวิจารสงบไปแล้ว เป็นต้น)=====+====ส่วน 1 องค์ฌาน 3 (วิตกและวิจารสงบไปแล้ว เป็นต้น)====
 ในคำว่า ​ เพราะวิตกและวิจารสงบไป ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  เพราะองค์ฌานทั้ง 2  คือวิตกและวิจารนี้สงบไป ​ คือ ​ เพราะก้าวล่วงวิตกและวิจารทั้ง 2 ไป ​ ได้แก่ เพราะไม่มีวิตกและวิจารทั้ง 2  ปรากฏในขณะแห่งทุติยฌาน ในคำว่า ​ เพราะวิตกและวิจารสงบไป ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  เพราะองค์ฌานทั้ง 2  คือวิตกและวิจารนี้สงบไป ​ คือ ​ เพราะก้าวล่วงวิตกและวิจารทั้ง 2 ไป ​ ได้แก่ เพราะไม่มีวิตกและวิจารทั้ง 2  ปรากฏในขณะแห่งทุติยฌาน
  
บรรทัด 1483: บรรทัด 1485:
 '''​อธิบายบทว่า สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ) เป็นต้น'''​ '''​อธิบายบทว่า สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ) เป็นต้น'''​
  
-คำว่า ​ '''​สมาธิชํ (เกิดจากสมาธิ)''' ​ อธิบายว่า ฌานจิตตุปบาททั้งที่เกิดจากปฐมฌานสมาธิหรือที่เกิดจากทุติยฌานสัมปยุตตสมาธิ ก็ล้วนเกิดจากสมาธิสมาธิ. ​ ใน 2 อย่างนั้น แม้ปฐมฌานจิตตุปบาทที่เกิดจากปฐมฌานสัมปยุตสมาธิจะมีอยู่ก็จริง,​ แต่ทุติยฌานสมาธิ(ที่ทำให้เกิดทุติยฌานจิตตุปบาท)นี่เองที่เรียกว่าสมาธิได้เต็มที่ เพราะไม่หวั่นไหวเกินไป และมีความปลอดโปร่งเป็นอย่างดีเนื่องจากไม่มีวิตกวิจารแล้วนั่นเอง,​ ดังนั้น จึงตรัสคำว่า "​สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ)"​ ไว้ในทุติยฌานจิตตุปบาทนี้เท่านั้น เพื่อกล่าวยกย่องสมาธิของทุติยฌานจิตตุปบาทด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้.+คำว่า ​ '''​สมาธิชํ (เกิดจากสมาธิ)''' ​ อธิบายว่า ฌานจิตตุปบาททั้งที่เกิดจากปฐมฌานสมาธิหรือที่เกิดจากทุติยฌานสัมปยุตตสมาธิ ก็ล้วนเกิดจากสมาธิ. ​ ใน 2 อย่างนั้น แม้ปฐมฌานจิตตุปบาทที่เกิดจากปฐมฌานสัมปยุตสมาธิจะมีอยู่ก็จริง,​ แต่ทุติยฌานสมาธิ(ที่ทำให้เกิดทุติยฌานจิตตุปบาท)นี่เองที่เรียกว่าสมาธิได้เต็มที่ เพราะไม่หวั่นไหวเกินไป และมีความปลอดโปร่งเป็นอย่างดีเนื่องจากไม่มีวิตกวิจารแล้วนั่นเอง,​ ดังนั้น จึงตรัสคำว่า "​สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ)"​ ไว้ในทุติยฌานจิตตุปบาทนี้เท่านั้น เพื่อกล่าวยกย่องสมาธิของทุติยฌานจิตตุปบาทด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้.
  
 (หน้าที่ 267) (หน้าที่ 267)
บรรทัด 1491: บรรทัด 1493:
 คำว่า ​ ฌานที่ 2  อธิบายว่า ​ ที่ชื่อว่า 2  เพราะเป็นลำดับแห่งการคำนวณฌานนี้ชื่อว่าเป็นที่ 2  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าเป็นอันดับที่ 2  ดังนี้ก็ได้ ​ ฌานนี้เกิดขึ้นเป็นอันดับที่ 2  แม้เพราะเหตุนั้นจึงกล่าวว่า ​ ฌานที่ 2  ดังนี้ก็ได้ คำว่า ​ ฌานที่ 2  อธิบายว่า ​ ที่ชื่อว่า 2  เพราะเป็นลำดับแห่งการคำนวณฌานนี้ชื่อว่าเป็นที่ 2  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าเป็นอันดับที่ 2  ดังนี้ก็ได้ ​ ฌานนี้เกิดขึ้นเป็นอันดับที่ 2  แม้เพราะเหตุนั้นจึงกล่าวว่า ​ ฌานที่ 2  ดังนี้ก็ได้
  
-=====ส่วน 2 ละองค์ 2  และประกอบด้วยองค์ 3=====+====ส่วน 2 ละองค์ 2  และประกอบด้วยองค์ 3====
  
 ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วว่า ​ ทุติยฌานละองค์ 2  ประกอบด้วยองค์ 3  นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ – ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วว่า ​ ทุติยฌานละองค์ 2  ประกอบด้วยองค์ 3  นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 1505: บรรทัด 1507:
 (หน้าที่ 268) (หน้าที่ 268)
  
-===ได้ตติยฌาน===+==ได้ตติยฌาน==
  
 ก็แหละ ​ ครั้นได้บรรลุทุติยฌานแม้นั้นด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลผู้มีวสีอันได้สั่งสมดีแล้วด้วยอาการ 5  อย่าง ​ โดยนัยที่กล่าวแล้วในปฐมฌานนั่นแล ​ ออกจากทุติยฌานที่คล่องแคล่วดีแล้ว ​ แต่นั้นพิจารณาเห็นโทษในทุติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ ​ ยังใกล้ต่อวิตกและวิจารอันเป็นข้าศึก ​ และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะเป็นสภาพที่หยาบด้วยปีติที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้ว่า ​ ปีติในทุติยฌานนั้นใดทำใจให้กำเริบ ​ ทุติยฌานนั้นจึงปรากฏเป็นสภาพที่หยาบเพราะปีตินั้น ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงตติยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในทุติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุซึ่งตติยฌานต่อไป ก็แหละ ​ ครั้นได้บรรลุทุติยฌานแม้นั้นด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลผู้มีวสีอันได้สั่งสมดีแล้วด้วยอาการ 5  อย่าง ​ โดยนัยที่กล่าวแล้วในปฐมฌานนั่นแล ​ ออกจากทุติยฌานที่คล่องแคล่วดีแล้ว ​ แต่นั้นพิจารณาเห็นโทษในทุติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ ​ ยังใกล้ต่อวิตกและวิจารอันเป็นข้าศึก ​ และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะเป็นสภาพที่หยาบด้วยปีติที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว้ว่า ​ ปีติในทุติยฌานนั้นใดทำใจให้กำเริบ ​ ทุติยฌานนั้นจึงปรากฏเป็นสภาพที่หยาบเพราะปีตินั้น ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงตติยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในทุติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุซึ่งตติยฌานต่อไป
บรรทัด 1511: บรรทัด 1513:
 แหละกาลใด ​ เมื่อโยคีบุคคลออกจากทุติยฌานแล้ว ​ มีสติมีสัมปชัญญะพิจารณาองค์ฌานอยู่นั้น ​ ปีติก็จะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ สุขกับเอกัคคตาจะปรากฏเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแล ​ อย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน -  ดิน ​ เพื่อละเสียซึ่งองค์ฌานที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ฌานที่ละเอียดอยู่นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ก็จะตัดภวังคจิตเกิดขึ้น ​ เหมือนจะเตือนให้รู้ว่า ​ ตติยฌาน ​ จักเกิดขึ้นเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ถัดนั้น ​ ในอารมณ์ปถวีกสิณนั้นนั่นแล ​ ชวนจิตก็แล่นไป 4 ขณะบ้าง ​ 5 ขณะบ้าง ​ (ตามควรแก่โยคีบุคคลที่เป็นติกขบุคคลและมันทบุคคล) บรรดาชวนจิต 4 หรือ 5 ขณะนั้น ดวงหนึ่ง ​ สุดท้ายเขาเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิตขั้นตติยฌาน ​ ส่วน 3  หรือ 4  ดวงที่เหลือข้างต้นเป็น ​ กามาวจรกุศลจิต ​ ตามนัยที่กล่าวแล้วในทุติยฌานนั่นแล แหละกาลใด ​ เมื่อโยคีบุคคลออกจากทุติยฌานแล้ว ​ มีสติมีสัมปชัญญะพิจารณาองค์ฌานอยู่นั้น ​ ปีติก็จะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ สุขกับเอกัคคตาจะปรากฏเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแล ​ อย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน -  ดิน ​ เพื่อละเสียซึ่งองค์ฌานที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ฌานที่ละเอียดอยู่นั้น ​ มโนทวาราวัชชนจิต ​ ก็จะตัดภวังคจิตเกิดขึ้น ​ เหมือนจะเตือนให้รู้ว่า ​ ตติยฌาน ​ จักเกิดขึ้นเดี๋ยวนี้แล้ว ​ ถัดนั้น ​ ในอารมณ์ปถวีกสิณนั้นนั่นแล ​ ชวนจิตก็แล่นไป 4 ขณะบ้าง ​ 5 ขณะบ้าง ​ (ตามควรแก่โยคีบุคคลที่เป็นติกขบุคคลและมันทบุคคล) บรรดาชวนจิต 4 หรือ 5 ขณะนั้น ดวงหนึ่ง ​ สุดท้ายเขาเป็น ​ รูปาวจรกุศลจิตขั้นตติยฌาน ​ ส่วน 3  หรือ 4  ดวงที่เหลือข้างต้นเป็น ​ กามาวจรกุศลจิต ​ ตามนัยที่กล่าวแล้วในทุติยฌานนั่นแล
  
-====ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา====+===ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา===
 ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​ ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​
  
บรรทัด 1521: บรรทัด 1523:
 (หน้าที่ 269) (หน้าที่ 269)
  
-=====ส่วน 1 องค์ฌาน 2 (ละปีติได้ อยู่อย่างมีอุเบกขา เป็นต้น)=====+====ส่วน 1 องค์ฌาน 2 (ละปีติได้ อยู่อย่างมีอุเบกขา เป็นต้น)====
  
 '''​อธิบาย ​ เพราะก้าวล่วงซึ่งปีติ '''​อธิบาย ​ เพราะก้าวล่วงซึ่งปีติ
บรรทัด 1539: บรรทัด 1541:
 ในคำว่า ​ เป็นผู้เห็นเสมอกันอยู่ ​ นี้ ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ -  ธรรมชาติใดย่อมเห็นโดยกำเนิด ​ คือเห็นเสมอกัน ​ เห็นไม่ตกไปในฝ่าย ​ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ​ อุเปกฺขา ​ โยคีบุคคลผู้เข้าอยู่ในตติยฌาน ​ เรียกว่า ​ อุเปกฺขโก ​ ผู้เห็นเสมอกัน เพราะประกอบด้วยอุเบกขานั้น ​ อันบริสุทธิ์ ​ อันยิ่งใหญ่ ​ ถึงซึ่งความมั่นคง ในคำว่า ​ เป็นผู้เห็นเสมอกันอยู่ ​ นี้ ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ -  ธรรมชาติใดย่อมเห็นโดยกำเนิด ​ คือเห็นเสมอกัน ​ เห็นไม่ตกไปในฝ่าย ​ ฉะนั้น ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ​ อุเปกฺขา ​ โยคีบุคคลผู้เข้าอยู่ในตติยฌาน ​ เรียกว่า ​ อุเปกฺขโก ​ ผู้เห็นเสมอกัน เพราะประกอบด้วยอุเบกขานั้น ​ อันบริสุทธิ์ ​ อันยิ่งใหญ่ ​ ถึงซึ่งความมั่นคง
  
-======อุเบกขา ​ 10======+=====อุเบกขา ​ 10=====
  
 ก็แหละ ​ อุเบกขานั้นมี ​ 10  ประการ ​ คือ ก็แหละ ​ อุเบกขานั้นมี ​ 10  ประการ ​ คือ
บรรทัด 1701: บรรทัด 1703:
 คำว่า ​ ตติยฌาน ​ ที่แปลว่า ​ ฌานที่ 3  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ฌานนี้ที่ชื่อว่า ​ ตติยฌาน ​ หรือที่ 3  เพราะเป็นลำดับแห่งการคำนวณ ​ อีกอย่างหนึ่ง ​ ฌานนี้ชื่อว่าเป็นที่ 3  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าสู่เป็นอันดับที่ 3  ดังนี้ก็ได้ คำว่า ​ ตติยฌาน ​ ที่แปลว่า ​ ฌานที่ 3  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ฌานนี้ที่ชื่อว่า ​ ตติยฌาน ​ หรือที่ 3  เพราะเป็นลำดับแห่งการคำนวณ ​ อีกอย่างหนึ่ง ​ ฌานนี้ชื่อว่าเป็นที่ 3  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าสู่เป็นอันดับที่ 3  ดังนี้ก็ได้
  
-=====ส่วน 2 ละองค์ 1 และประกอบด้วยองค์ 2=====+====ส่วน 2 ละองค์ 1 และประกอบด้วยองค์ 2====
  
 ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ 1  ประกอบด้วยองค์ 2  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  นักศึกษาพึงทราบว่าตติยฌานละองค์ 1 นั้น ​ ด้วยอำนาจการละซึ่งปีติ ​ แหละปีตินี้นั้นอันโยคีบุคคลละได้ในขณะแห่งอัปปนา ​ เช่นเดียวกับวิตกและวิจารของทุติยฌานที่โยคีบุคคลละได้ในขณะแห่งอัปปนานั้น ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ปีตินั้นท่านจึงเรียกว่าเป็นองค์สำหรับละของตติยฌานนั้น ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ 1  ประกอบด้วยองค์ 2  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  นักศึกษาพึงทราบว่าตติยฌานละองค์ 1 นั้น ​ ด้วยอำนาจการละซึ่งปีติ ​ แหละปีตินี้นั้นอันโยคีบุคคลละได้ในขณะแห่งอัปปนา ​ เช่นเดียวกับวิตกและวิจารของทุติยฌานที่โยคีบุคคลละได้ในขณะแห่งอัปปนานั้น ​ ด้วยเหตุนั้น ​ ปีตินั้นท่านจึงเรียกว่าเป็นองค์สำหรับละของตติยฌานนั้น
บรรทัด 1713: บรรทัด 1715:
 คำที่เหลือ[[#​มีความงาม 3 และสมบูรณ์ด้วยลักษณะ 10|มีนัยดังที่พรรณนามาแล้ว]]ในปฐมฌานนั่นแล คำที่เหลือ[[#​มีความงาม 3 และสมบูรณ์ด้วยลักษณะ 10|มีนัยดังที่พรรณนามาแล้ว]]ในปฐมฌานนั่นแล
  
-===ได้จตุตถฌาน===+==ได้จตุตถฌาน==
  
 ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุตติยฌานแม้นั้นด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลพึงสั่งสมวสีด้วยอาการ 5  อย่างโดยนัยดังที่พรรณนามาแล้วนั่นแล ​ ครั้นออกจากตติยฌานที่คล่องแคล่วแล้ว ​ พิจารณาเห็นโทษในตติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อปีติอันเป็นข้าศึกอยู่ ​ และว่าสมาบัตินี้ยังมีองค์อันทุรพล ​ เพราะสุขเป็นสภาพที่หยาบดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้อย่างนี้ว่า องค์อันใดแล ​ ที่ทำใจให้พะวงว่าเป็นสุขในตติยฌานนั้น ​ ด้วยองค์นั้น ​ ตติยฌานนี้จึงปรากฏเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงจตุตถฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในตติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุจตุตถฌานต่อไป ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุตติยฌานแม้นั้นด้วยประการฉะนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลพึงสั่งสมวสีด้วยอาการ 5  อย่างโดยนัยดังที่พรรณนามาแล้วนั่นแล ​ ครั้นออกจากตติยฌานที่คล่องแคล่วแล้ว ​ พิจารณาเห็นโทษในตติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อปีติอันเป็นข้าศึกอยู่ ​ และว่าสมาบัตินี้ยังมีองค์อันทุรพล ​ เพราะสุขเป็นสภาพที่หยาบดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้อย่างนี้ว่า องค์อันใดแล ​ ที่ทำใจให้พะวงว่าเป็นสุขในตติยฌานนั้น ​ ด้วยองค์นั้น ​ ตติยฌานนี้จึงปรากฏเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงจตุตถฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในตติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุจตุตถฌานต่อไป
บรรทัด 1725: บรรทัด 1727:
 ส่วนที่พิเศษกว่านั้น ​ ดังนี้ ​ คือ ​ เพราะเหตุที่สุขเวทนาเป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัยแก่อทุกขมสุขเวทนาไม่ได้ ​ และอุทุกขมสุขเวทนาจะต้องเกิดขึ้นในจตุตถฌาน ​ ฉะนั้น ​ ชวนจิตเหล่านั้นจึงย่อมประกอบด้วยอุเบกขาเวทนา ​ และแม้ปีติก็เป็นอันสร่างหายไปในจตุตถฌานนี้ด้วย ​ เพราะเหตุที่จตุตถฌานประกอบด้วยอุเบกขาเวทนานั่นแล ส่วนที่พิเศษกว่านั้น ​ ดังนี้ ​ คือ ​ เพราะเหตุที่สุขเวทนาเป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัยแก่อทุกขมสุขเวทนาไม่ได้ ​ และอุทุกขมสุขเวทนาจะต้องเกิดขึ้นในจตุตถฌาน ​ ฉะนั้น ​ ชวนจิตเหล่านั้นจึงย่อมประกอบด้วยอุเบกขาเวทนา ​ และแม้ปีติก็เป็นอันสร่างหายไปในจตุตถฌานนี้ด้วย ​ เพราะเหตุที่จตุตถฌานประกอบด้วยอุเบกขาเวทนานั่นแล
  
-====ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา====+===ส่วนประกอบ 4 เมื่อได้อัปปนา===
 ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​ ก็แหละ ​ ด้วยลำดับแห่งภาวนาวิธีมีประมาณเท่านี้ ​ เป็นอันว่าโยคีบุคคลนั้นมีส่วนประกอบดังนี้:​
  
บรรทัด 1733: บรรทัด 1735:
 #​ได้บรรลุจตุตถฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์ #​ได้บรรลุจตุตถฌานมีปถวีกสิณเป็นอารมณ์
  
-=====ส่วน 1 องค์ฌาน 2 (ละสุขและละทุกข์แล้ว เป็นต้น)=====+====ส่วน 1 องค์ฌาน 2 (ละสุขและละทุกข์แล้ว เป็นต้น)====
  
 ในบรรดาคำเหล่านั้น ​ คำว่า ​ เพราะละสุขและละทุกข์ ​ ความว่า ​ เพราะละกายิกสุขคือสุขทางกายและกายิกทุกข์คือทุกข์ทางกาย ​ คำว่า ​ แต่เบื้องต้น ​ ความว่า ​ การละนั้นแล ​ ได้ละมาแต่เบื้องต้นแล้ว ​ ไม่ใช่ละในขณะแห่งจตุตถฌาน ​ คำว่า ​ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับหายไป ​ ความว่า ​ เพราะความดับหายไปแต่เบื้องต้นแห่งเวทนาแม้ทั้ง 2  นี้คือ ​ สุขเวทนาที่เกิดทางใจ 1  ทุกขเวทนาที่เกิดทางใจ 1  อธิบายว่า ​ เพราะละเวทนาทั้ง 2  เสียได้แต่ในเบื้องต้นนั่นเอง ในบรรดาคำเหล่านั้น ​ คำว่า ​ เพราะละสุขและละทุกข์ ​ ความว่า ​ เพราะละกายิกสุขคือสุขทางกายและกายิกทุกข์คือทุกข์ทางกาย ​ คำว่า ​ แต่เบื้องต้น ​ ความว่า ​ การละนั้นแล ​ ได้ละมาแต่เบื้องต้นแล้ว ​ ไม่ใช่ละในขณะแห่งจตุตถฌาน ​ คำว่า ​ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับหายไป ​ ความว่า ​ เพราะความดับหายไปแต่เบื้องต้นแห่งเวทนาแม้ทั้ง 2  นี้คือ ​ สุขเวทนาที่เกิดทางใจ 1  ทุกขเวทนาที่เกิดทางใจ 1  อธิบายว่า ​ เพราะละเวทนาทั้ง 2  เสียได้แต่ในเบื้องต้นนั่นเอง
บรรทัด 1833: บรรทัด 1835:
 คำว่า ​ จตุตฺถ ​ ที่แปลว่า 4  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า ​ ฌานที่เรียกว่าที่ 4  เพราะเป็นลำดับของการคำนวณ ​ หรือฌานนี้ที่จัดเป็นที่ 4  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าเป็นอันดับที่ 4  ดังนี้ก็ได้ คำว่า ​ จตุตฺถ ​ ที่แปลว่า 4  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า ​ ฌานที่เรียกว่าที่ 4  เพราะเป็นลำดับของการคำนวณ ​ หรือฌานนี้ที่จัดเป็นที่ 4  เพราะเหตุที่โยคีบุคคลย่อมเข้าเป็นอันดับที่ 4  ดังนี้ก็ได้
  
-=====ส่วน 2 ละองค์ 1 และประกอบด้วยองค์ 2=====+====ส่วน 2 ละองค์ 1 และประกอบด้วยองค์ 2====
  
 ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ 1  ประกอบด้วยองค์ 2  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ใน 2  ข้อนั้น ​ ข้อว่า ​ จตุตถฌานละองค์ 1  นั้น ​ นักศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจที่ละซึ่งโสมนัสเวทนา ​ และโสมนัสเวทนานั้นละมาได้แต่ในชวนจิตดวงต้น ๆ  ในวิถีเดียวกันนั่นเทียว ​ ด้วยเหตุนั้น ​ โสมนัสเวทนานั้น ​ จึงเรียกว่า ​ เป็นองค์สำหรับละของจตุตถฌานนี้ ก็แหละ ​ ในคำที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ละองค์ 1  ประกอบด้วยองค์ 2  นั้น ​ มีอรรถาธิบายว่า -  ใน 2  ข้อนั้น ​ ข้อว่า ​ จตุตถฌานละองค์ 1  นั้น ​ นักศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจที่ละซึ่งโสมนัสเวทนา ​ และโสมนัสเวทนานั้นละมาได้แต่ในชวนจิตดวงต้น ๆ  ในวิถีเดียวกันนั่นเทียว ​ ด้วยเหตุนั้น ​ โสมนัสเวทนานั้น ​ จึงเรียกว่า ​ เป็นองค์สำหรับละของจตุตถฌานนี้
บรรทัด 1847: บรรทัด 1849:
 ตามที่พรรณนามานี้ ​ เป็นแนวในฌาน 4  ประเภท ​ ที่บังเกิดขึ้นด้วยอำนาจแห่งฌานที่เป็นจตุกกนัย ​ เป็นประเภทแรก ตามที่พรรณนามานี้ ​ เป็นแนวในฌาน 4  ประเภท ​ ที่บังเกิดขึ้นด้วยอำนาจแห่งฌานที่เป็นจตุกกนัย ​ เป็นประเภทแรก
  
-===ฌานปัญจกนัย===+==ฌานปัญจกนัย==
  
 ส่วนโยคีบุคคลผู้เจริญฌานปัญจกนัยให้บังเกิดขึ้นนั้น ​ ออกจากปฐมฌานที่คล่องแคล่วแล้ว ​ พิจารณาเห็นโทษในปฐมฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อนิวรณ์อันเป็นข้าศึกอยู่และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะวิตกเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงทุตยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในปฐมฌานแล้ว ​ จึงลงมือทำความเพียร ​ เพื่อบรรลุซึ่งทุติยฌานต่อไป ส่วนโยคีบุคคลผู้เจริญฌานปัญจกนัยให้บังเกิดขึ้นนั้น ​ ออกจากปฐมฌานที่คล่องแคล่วแล้ว ​ พิจารณาเห็นโทษในปฐมฌานนั้นว่า ​ สมาบัตินี้ยังใกล้ต่อนิวรณ์อันเป็นข้าศึกอยู่และว่า ​ สมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะวิตกเป็นสภาพที่หยาบ ​ ฉะนี้แล้ว ​ พึงมนสิการถึงทุตยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในปฐมฌานแล้ว ​ จึงลงมือทำความเพียร ​ เพื่อบรรลุซึ่งทุติยฌานต่อไป
  
-====บรรลุทุติยฌาน====+===บรรลุทุติยฌาน===
  
 ก็แหละ ​ กาลใด ​ เมื่อโยคีบุคคลออกจากปฐมฌานแล้วมีสติมีสัมปชัญญะพิจารณาองค์ฌานอยู่นั้น ​   องค์ฌานเพียงแต่วิตกอย่างเดียวก็จะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ องค์ฌานอื่น ๆ มีวิจารเป็นต้น ​ คงปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการ ​ ถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแลอย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ  ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน – ดิน ​ ดังนี้ ​ เพื่อละองค์ที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ที่ละเอียดอยู่นั้น ​ ทุติยฌานก็จะบังเกิดขึ้นโดยนัยที่ได้แสดงมาแล้วนั่นแล ​ องค์สำหรับละของทุติยฌานนั้นมีวิตกอย่างเดียว ​ ส่วนองค์ประกอบมี 4  มีวิจารเป็นต้น ​ คำที่เหลือเหมือนคำที่แสดงมาแล้วทุกประการนั่นเทียว ก็แหละ ​ กาลใด ​ เมื่อโยคีบุคคลออกจากปฐมฌานแล้วมีสติมีสัมปชัญญะพิจารณาองค์ฌานอยู่นั้น ​   องค์ฌานเพียงแต่วิตกอย่างเดียวก็จะปรากฏโดยเป็นสภาพที่หยาบ ​ องค์ฌานอื่น ๆ มีวิจารเป็นต้น ​ คงปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการ ​ ถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแลอย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ  ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน – ดิน ​ ดังนี้ ​ เพื่อละองค์ที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ที่ละเอียดอยู่นั้น ​ ทุติยฌานก็จะบังเกิดขึ้นโดยนัยที่ได้แสดงมาแล้วนั่นแล ​ องค์สำหรับละของทุติยฌานนั้นมีวิตกอย่างเดียว ​ ส่วนองค์ประกอบมี 4  มีวิจารเป็นต้น ​ คำที่เหลือเหมือนคำที่แสดงมาแล้วทุกประการนั่นเทียว
  
-====บรรลุตติยฌาน====+===บรรลุตติยฌาน===
  
 ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุทุติยฌานแม้นั้นอย่างนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลนั้นพึงทำให้วสีสามารถดีแล้วด้วยอาการ 5  อย่างโดยนัยที่ได้พรรณนามาแล้วนั่นแล ​ ออกจากทุติยฌานที่คล่องแคล่วแล้วพิจารณาเห็นโทษในทุติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัติยังใกล้ต่อวิตกอันเป็นข้าศึกอยู่ ​ และว่าสมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะวิจารเป็นสภาพที่หยาบ ​ ครั้นแล้ว ​ มนสิการถึงตติยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในทุติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุตติยฌานต่อไป ก็แหละ ​ เมื่อได้บรรลุทุติยฌานแม้นั้นอย่างนี้แล้ว ​ โยคีบุคคลนั้นพึงทำให้วสีสามารถดีแล้วด้วยอาการ 5  อย่างโดยนัยที่ได้พรรณนามาแล้วนั่นแล ​ ออกจากทุติยฌานที่คล่องแคล่วแล้วพิจารณาเห็นโทษในทุติยฌานนั้นว่า ​ สมาบัติยังใกล้ต่อวิตกอันเป็นข้าศึกอยู่ ​ และว่าสมาบัตินี้มีองค์อันทุรพล ​ เพราะวิจารเป็นสภาพที่หยาบ ​ ครั้นแล้ว ​ มนสิการถึงตติยฌานโดยเป็นสภาพที่ละเอียด ​ คลายความยินดีในทุติยฌานแล้ว ​ พึงลงมือทำความเพียรเพื่อบรรลุตติยฌานต่อไป
บรรทัด 1865: บรรทัด 1867:
 มีปีติเป็นต้นคงปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียดอยู่ ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแลอย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ  ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน – ดิน ​ ฉะนี้ ​ เพื่อที่จะละองค์ที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ที่ละเอียดอยู่นั้น ตติยฌานก็จะเกิดขึ้นโดยนัยที่ได้แสดงมาแล้วนั่นแล ​ องค์สำหรับละของตติยฌานนั้นมีแต่วิจารอย่างเดียว ​ ส่วนองค์ประกอบมี 3  มีปีติเป็นต้น ​ เหมือนกับในทุติยฌานโดยจตุกกนัย ​ คำที่เหลือเหมือนดังที่แสดงมาแล้วทุกประการนั่นเทียว มีปีติเป็นต้นคงปรากฏโดยเป็นสภาพที่ละเอียดอยู่ ​ กาลนั้น ​ ขณะที่โยคีบุคคลมนสิการถึงปฏิภาคนิมิตนั้นนั่นแลอย่างแล้ว ๆ  เล่า ๆ  ว่า ​ ปถวี – ปถวี ​ หรือ ​ ดิน – ดิน ​ ฉะนี้ ​ เพื่อที่จะละองค์ที่หยาบและให้ได้มาซึ่งองค์ที่ละเอียดอยู่นั้น ตติยฌานก็จะเกิดขึ้นโดยนัยที่ได้แสดงมาแล้วนั่นแล ​ องค์สำหรับละของตติยฌานนั้นมีแต่วิจารอย่างเดียว ​ ส่วนองค์ประกอบมี 3  มีปีติเป็นต้น ​ เหมือนกับในทุติยฌานโดยจตุกกนัย ​ คำที่เหลือเหมือนดังที่แสดงมาแล้วทุกประการนั่นเทียว
  
-====สรุปฌานปัญจกนัย====+===สรุปฌานปัญจกนัย===
  
 ด้วยประการฉะนี้ ​ ทุติยฌานใดในฌานจตุกกนัยนั้น ​ ในฌานปัญจกนัยนี้ ​ ทุติยฌานนั้นแยกออกเป็น 2  ฌาน ​ คือ ​ เป็นทุติฌานและตติยฌาน ​ ตติยฌานและจตุตถฌานในฌานจตุกกนัยนั้นแยกเป็นจตุตถฌานและปัญจมฌานในฌานปัญจกนัยนี้ ​ ส่วนปฐมฌานคงเป็นปฐมฌานตามเดิม ​ ฉะนี้แล ด้วยประการฉะนี้ ​ ทุติยฌานใดในฌานจตุกกนัยนั้น ​ ในฌานปัญจกนัยนี้ ​ ทุติยฌานนั้นแยกออกเป็น 2  ฌาน ​ คือ ​ เป็นทุติฌานและตติยฌาน ​ ตติยฌานและจตุตถฌานในฌานจตุกกนัยนั้นแยกเป็นจตุตถฌานและปัญจมฌานในฌานปัญจกนัยนี้ ​ ส่วนปฐมฌานคงเป็นปฐมฌานตามเดิม ​ ฉะนี้แล
บรรทัด 1883: บรรทัด 1885:
 ………………. ……………….
  
-==ดูเพิ่ม==+=ดูเพิ่ม=
 *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​ *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​
 *'''​[[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​ *'''​[[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​