วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส [2020/09/01 19:19]
dhamma
วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส [2020/09/08 11:56]
dhamma [ส่วน 1 องค์ฌาน 3 (วิตกและวิจารสงบไปแล้ว เป็นต้น)]
บรรทัด 467: บรรทัด 467:
 หนึ่ง ​ ความฉลาดในนิมิตที่ประสงค์เอาในอัปปนาโกศลกถานี้ ​ ได้แก่ความฉลาดในการรักษาซึ่งนิมิตที่ได้มาแล้วด้วยการภาวนานั้น หนึ่ง ​ ความฉลาดในนิมิตที่ประสงค์เอาในอัปปนาโกศลกถานี้ ​ ได้แก่ความฉลาดในการรักษาซึ่งนิมิตที่ได้มาแล้วด้วยการภาวนานั้น
  
-====โพชฌงค์ ​7====+====โพชฌงค์==== 
 + 
  
 '''​4. ​ โดยยกจิตในสมัยที่ควรยก '''​4. ​ โดยยกจิตในสมัยที่ควรยก
บรรทัด 807: บรรทัด 809:
  
 ===อัปปนาชวนวิถีจิต=== ===อัปปนาชวนวิถีจิต===
-'''​+
 จิตเหล่าใดซึ่งมี ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ เอกัคคตา ​ (จิตเตกัคคตา) ​ มีกำลังมากกว่าจิตปกติ ​ จิตเหล่านั้นเรียกว่า ​ บริกรรม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุปรุงแต่งอัปปนา ​ เรียกว่า ​ อุปจาระ ​ บ้าง ​ เพราะเหตุอยู่ใกล้หรือเฉียดไปใกล้อัปปนา ​ เหมือนกับสถานที่ซึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านและใกล้นครเป็นต้น ​ เขาเรียกกันว่า ​ อุปจาระแห่งบ้านและอุปจาระแห่งนคร ​ ฉะนั้น ​ และเรียกว่า ​ อนุโลม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุสมควรแก่อัปปนา ​ ตั้งแต่ในตอนก่อนแต่นี้และตอนหลังแห่งบริกรรมทั้งหลายมา ​ แหละในกามวจรชวนจิตนั้น ​ ดวงใดที่เกิดภายหลังเขาทั้งหมด จิตเหล่าใดซึ่งมี ​ วิตก, ​ วิจาร, ​ ปีติ, ​ สุข, ​ เอกัคคตา ​ (จิตเตกัคคตา) ​ มีกำลังมากกว่าจิตปกติ ​ จิตเหล่านั้นเรียกว่า ​ บริกรรม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุปรุงแต่งอัปปนา ​ เรียกว่า ​ อุปจาระ ​ บ้าง ​ เพราะเหตุอยู่ใกล้หรือเฉียดไปใกล้อัปปนา ​ เหมือนกับสถานที่ซึ่งอยู่ใกล้หมู่บ้านและใกล้นครเป็นต้น ​ เขาเรียกกันว่า ​ อุปจาระแห่งบ้านและอุปจาระแห่งนคร ​ ฉะนั้น ​ และเรียกว่า ​ อนุโลม ​ บ้าง ​ เพราะเหตุสมควรแก่อัปปนา ​ ตั้งแต่ในตอนก่อนแต่นี้และตอนหลังแห่งบริกรรมทั้งหลายมา ​ แหละในกามวจรชวนจิตนั้น ​ ดวงใดที่เกิดภายหลังเขาทั้งหมด
  
บรรทัด 1483: บรรทัด 1485:
 '''​อธิบายบทว่า สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ) เป็นต้น'''​ '''​อธิบายบทว่า สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ) เป็นต้น'''​
  
-คำว่า ​ '''​สมาธิชํ (เกิดจากสมาธิ)''' ​ อธิบายว่า ฌานจิตตุปบาททั้งที่เกิดจากปฐมฌานสมาธิหรือที่เกิดจากทุติยฌานสัมปยุตตสมาธิ ก็ล้วนเกิดจากสมาธิสมาธิ. ​ ใน 2 อย่างนั้น แม้ปฐมฌานจิตตุปบาทที่เกิดจากปฐมฌานสัมปยุตสมาธิจะมีอยู่ก็จริง,​ แต่ทุติยฌานสมาธิ(ที่ทำให้เกิดทุติยฌานจิตตุปบาท)นี่เองที่เรียกว่าสมาธิได้เต็มที่ เพราะไม่หวั่นไหวเกินไป และมีความปลอดโปร่งเป็นอย่างดีเนื่องจากไม่มีวิตกวิจารแล้วนั่นเอง,​ ดังนั้น จึงตรัสคำว่า "​สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ)"​ ไว้ในทุติยฌานจิตตุปบาทนี้เท่านั้น เพื่อกล่าวยกย่องสมาธิของทุติยฌานจิตตุปบาทด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้.+คำว่า ​ '''​สมาธิชํ (เกิดจากสมาธิ)''' ​ อธิบายว่า ฌานจิตตุปบาททั้งที่เกิดจากปฐมฌานสมาธิหรือที่เกิดจากทุติยฌานสัมปยุตตสมาธิ ก็ล้วนเกิดจากสมาธิ. ​ ใน 2 อย่างนั้น แม้ปฐมฌานจิตตุปบาทที่เกิดจากปฐมฌานสัมปยุตสมาธิจะมีอยู่ก็จริง,​ แต่ทุติยฌานสมาธิ(ที่ทำให้เกิดทุติยฌานจิตตุปบาท)นี่เองที่เรียกว่าสมาธิได้เต็มที่ เพราะไม่หวั่นไหวเกินไป และมีความปลอดโปร่งเป็นอย่างดีเนื่องจากไม่มีวิตกวิจารแล้วนั่นเอง,​ ดังนั้น จึงตรัสคำว่า "​สมาธิชํ (เกิดแต่สมาธิ)"​ ไว้ในทุติยฌานจิตตุปบาทนี้เท่านั้น เพื่อกล่าวยกย่องสมาธิของทุติยฌานจิตตุปบาทด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้.
  
 (หน้าที่ 267) (หน้าที่ 267)