วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส [2020/06/27 16:27]
127.0.0.1 แก้ไขภายนอก
วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส [2020/10/30 05:21]
dhamma [ขั้นตอนทำสมาธิให้เกิดต่อเนื่องอย่างย่อ]
บรรทัด 175: บรรทัด 175:
 แต่อย่างไรก็ดี ​ ณ  ที่นี้ประสงค์เอาสมาธิซึ่งประกอบด้วยปัญญานั้น ​ ส่วนหานภาคิยธรรม ​ ธรรมอันเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ​ และวิเสสภาคิยธรรม ​ ธรรมอันเป็นไปในส่วนแห่งคุณวิเศษ ​ ในทุติยฌานเป็นต้น ​ นักศึกษาพึงทราบโดยวิธีที่กล่าวไว้แล้วในปฐมฌานนี้ แต่อย่างไรก็ดี ​ ณ  ที่นี้ประสงค์เอาสมาธิซึ่งประกอบด้วยปัญญานั้น ​ ส่วนหานภาคิยธรรม ​ ธรรมอันเป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ​ และวิเสสภาคิยธรรม ​ ธรรมอันเป็นไปในส่วนแห่งคุณวิเศษ ​ ในทุติยฌานเป็นต้น ​ นักศึกษาพึงทราบโดยวิธีที่กล่าวไว้แล้วในปฐมฌานนี้
  
-==ทำสมาธิให้เกิดต่อเนื่องได้อย่างไร== +=ขั้นตอนทำสมาธิให้เกิดต่อเนื่องอย่างย่อ=
-===โลกิะและโลกุตตรสมาธิ===+
  
 ก็แหละ ​ ในปัญหาข้อที่ว่า ​ ทำภาวนาสมาธิได้อย่างไร ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ – ก็แหละ ​ ในปัญหาข้อที่ว่า ​ ทำภาวนาสมาธิได้อย่างไร ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 186: บรรทัด 185:
 ประกอบด้วยอริยมรรคนั้น ​ ท่านสงเคราะห์เข้าไว้กับนัยแห่งปัญญาภาวนาแล้วนั่นเทียว ​ เพราะว่า ​ เมื่อปัญญาอันโยคีบุคคลภาวนาให้เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็เป็นอันได้ภาวนาให้สมาธินั้นเกิดขึ้นด้วย ​ เพราะฉะนั้น ​ อริยมัคคสมาธินั้น ​ ข้าพเจ้าจะไม่ยกเอามาอธิบายไว้แผนกหนึ่งต่างหากจากปัญญาภาวนาแต่ประการใดว่า ​ อริยมัคคสมาธินั้นพึงเจริญภาวนาอย่างนี้ ๆ ประกอบด้วยอริยมรรคนั้น ​ ท่านสงเคราะห์เข้าไว้กับนัยแห่งปัญญาภาวนาแล้วนั่นเทียว ​ เพราะว่า ​ เมื่อปัญญาอันโยคีบุคคลภาวนาให้เกิดขึ้นแล้ว ​ ก็เป็นอันได้ภาวนาให้สมาธินั้นเกิดขึ้นด้วย ​ เพราะฉะนั้น ​ อริยมัคคสมาธินั้น ​ ข้าพเจ้าจะไม่ยกเอามาอธิบายไว้แผนกหนึ่งต่างหากจากปัญญาภาวนาแต่ประการใดว่า ​ อริยมัคคสมาธินั้นพึงเจริญภาวนาอย่างนี้ ๆ
  
-===ขั้นตอนำสมาธิให้เกิดต่อเื่องอย่างย่อ===+'''​บบริกรรกรรมฐาน'''​
  
 ส่วนสมาธิที่เป็นโลกิยะนี้ใด ​ สมาธินั้นข้าพเจ้าจะยกมาอธิบายด้วยภาวนาวิธีต่อไปดังนี้ – ส่วนสมาธิที่เป็นโลกิยะนี้ใด ​ สมาธินั้นข้าพเจ้าจะยกมาอธิบายด้วยภาวนาวิธีต่อไปดังนี้ –
  
-โยคีบุคคลชำระศีลทั้งหลายให้บริสุทธิ์ตามนัยที่ได้แสดงมาในสีลนิทเทสนั้นแล้ว ​ พึงตั้งตนไว้ในศีลอันบริสุทธิ์ดีแล้วนั้น ​ บรรดาปลิโพธเครื่องกังวล ​10  ประการอย่างใดมีอยู่แก่ตน ​ ก็จงตัดปลิโพธเครื่องกังวลอย่างนั้นเสียให้สิ้นห่วง ​ แล้วพึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐานแล้ว ท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาพระกัมมัฏฐาน 40  ประการ ​ อันเหมาะสมแก่จริตจริยาของตน ​ แล้วพึงออกจากวัดที่ไม่สมควรแก่การที่จะภาวนาสมาธิไปอยู่ในวัดที่สมควร ​ ครั้นแล้วพึงทำการตัดเครื่องกังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  เช่นตัดเล็บโกนหนวดเป็นต้น ​ ให้สิ้นเสร็จเรียบร้อย ​ ​แต่นั้นึงลงมือภาวนาสมาธินั้น ​ ด้วยไม่ทำวิธีภาวนาทุก ๆ อย่างให้ขาดตกบกพร่องไป+#โยคีบุคคลชำระศีลทั้งหลายให้บริสุทธิ์ตามนัยที่ได้แสดงมาใน[[วิสุทธิมรรค_01-2_สีลนิทเทส|สีลนิทเทส]]นั้นแล้ว พึงตั้งตนไว้ในศีลอันบริสุทธิ์ดีแล้วนั้น  ​ 
 +#​[[#​ปลิโพธ ​ 10  อย่าง|บรรดาปลิโพธ ​(เครื่องกังวลอย่างใดมีอยู่แก่ตน ​ ก็จงตัดปลิโพธเครื่องกังวลอย่างนั้นเสียให้สิ้นห่วง  ​ 
 +#แล้วพึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐาน]] 
 +#[[#10 วิธีวินิจฉัยกัมมัฏฐาน 40|แล้วท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดากัมมัฏฐาน 40  ประการ ​ อันเหมาะสมแก่จริตจริยาของตน]]  
 +#​[[วิสุทธิมรรค_04_ปถวีกสิณนิทเทส#​วิธีเลือกวัดให้ภาวนาสะดวก|แล้วพึงออกจากวัดที่ไม่สมควรแก่การที่จะภาวนาสมาธิไปอยู่ในวัดที่สมควร]] 
 +#ครั้นแล้วพึงทำการตัดเครื่อง ​(ปลิโพธ) ​กังวลเล็ก ๆ น้อย ๆ  เช่นตัดเล็บโกนหนวดเป็นต้น ​ ให้สิ้นเสร็จเรียบร้อย ​[[วิสุทธิมรรค_03_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส?​h=พึงสอนให้ทองจำลำดับขั้นตอน|หลังจากนั้นึงควรลงมือภาวนาสมาธินั้น  ​ดยไม่ทำขั้นตอนทำภาวนาทุก ๆ อย่างให้ขาดตกบกพร่องไป]]
  
 นี้เป็นวิธีภาวนาอย่างสังเขปในสมาธิภาวนานี้ นี้เป็นวิธีภาวนาอย่างสังเขปในสมาธิภาวนานี้
 +
  
 =อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนทำสมาธิให้เกิดต่อเนื่อง= =อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนทำสมาธิให้เกิดต่อเนื่อง=
บรรทัด 198: บรรทัด 203:
 ส่วนวิธีภาวนาอย่างละเอียด ​ มีอรรถาธิบายตามลำดับ ​ มีดังต่อไปนี้ – ส่วนวิธีภาวนาอย่างละเอียด ​ มีอรรถาธิบายตามลำดับ ​ มีดังต่อไปนี้ –
  
-====ปลิโพธ ​ 10  อย่าง====+==ปลิโพธ ​ 10  อย่าง==
  
 คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้โดยสังเขปว่า ​ บรรดาปลิโพธเครื่องกังวล ​ 10  ประการ ​ อย่างใดมีอยู่แก่ตน ​ ก็จงตัดปลิโพธเครื่องกังวลอย่างนั้นเสียให้สิ้นห่วง ​ ดังนี้ ​ ในคำนั้นมีอรรถาธิบายโดยพิสดาร ​ ดังนี้ – คำใดที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้โดยสังเขปว่า ​ บรรดาปลิโพธเครื่องกังวล ​ 10  ประการ ​ อย่างใดมีอยู่แก่ตน ​ ก็จงตัดปลิโพธเครื่องกังวลอย่างนั้นเสียให้สิ้นห่วง ​ ดังนี้ ​ ในคำนั้นมีอรรถาธิบายโดยพิสดาร ​ ดังนี้ –
บรรทัด 358: บรรทัด 363:
 อรรถาธิบายความอย่างพิสดารในปลิโพธกถา ​ อันเป็นประการแรก ​ ยุติเพียงเท่านี้ อรรถาธิบายความอย่างพิสดารในปลิโพธกถา ​ อันเป็นประการแรก ​ ยุติเพียงเท่านี้
  
-====กัมมัฏฐาน ​ 2  อย่าง====+==กัมมัฏฐาน ​ 2  อย่าง==
  
 แหละในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐาน ​ ฉะนี้ ​ มีอรรถาธิบายโดยพิสดารดังต่อไปนี้ – แหละในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐาน ​ ฉะนี้ ​ มีอรรถาธิบายโดยพิสดารดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 380: บรรทัด 385:
 แหละในบรรดากัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น ​ กัมมัฏฐานบทใดเหมาะสมแก่จริยาของโยคีบุคคลใด ​ กัมมัฏฐานบทนั้นเรียกว่า ​ ปาริหายกัมมัฏฐาน ​ เพราะเหตุที่โยคีบุคคลนั้นจะต้องรักษาไว้เป็นนิจอย่างหนึ่ง ​ เพราะเป็นปทัฏฐานแก่ภาวนากรรมขั้นสูง ๆ  ขึ้นไปอย่างหนึ่ง แหละในบรรดากัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น ​ กัมมัฏฐานบทใดเหมาะสมแก่จริยาของโยคีบุคคลใด ​ กัมมัฏฐานบทนั้นเรียกว่า ​ ปาริหายกัมมัฏฐาน ​ เพราะเหตุที่โยคีบุคคลนั้นจะต้องรักษาไว้เป็นนิจอย่างหนึ่ง ​ เพราะเป็นปทัฏฐานแก่ภาวนากรรมขั้นสูง ๆ  ขึ้นไปอย่างหนึ่ง
  
-====คุณสมบัติอาจารย์กัมมัฏฐาน==== 
  
-ท่านผู้ใดก็ตามที่ให้กัมมัฏฐานทั้ง ​ 2  อย่างที่กล่าวแล้วนี้ได้ ​ ท่านผู้นี้แหละชื่อว่าผู้สามารถ=ให้พระกัมมัฏฐาน ​ ตามที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ข้างต้นนั้น ​ ผู้ประสงค์จะเจริญกัมมัฏฐานพึงเข้าไปหาท่านผู้เช่นนั้นนั่นเทียว+ท่านผู้ใดก็ตามที่ให้กัมมัฏฐานทั้ง ​ 2  อย่างที่กล่าวแล้วนี้ได้ ​ ท่านผู้นี้แหละชื่อว่าผู้สามารถให้พระกัมมัฏฐาน ​ ตามที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ข้างต้นนั้น ​ ผู้ประสงค์จะเจริญกัมมัฏฐานพึงเข้าไปหาท่านผู้เช่นนั้นนั่นเทียว
  
-====คุณสมบัติอาจารย์กัมมัฏฐานที่เป็นกัลยาณมิตร====+==คุณสมบัติอาจารย์กัมมัฏฐานที่เป็นกัลยาณมิตร==
 ส่วนคำว่า ​ กัลยาณมิตร ​ นั้น ​ หมายเอากัลยาณมิตรผู้ที่ดำรงตนอยู่ในฝ่ายข้างดี ​ มีจิตมุ่งในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ​ ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติประจำตนมีอาทิอย่างนี้ ​ คือ – ส่วนคำว่า ​ กัลยาณมิตร ​ นั้น ​ หมายเอากัลยาณมิตรผู้ที่ดำรงตนอยู่ในฝ่ายข้างดี ​ มีจิตมุ่งในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ​ ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติประจำตนมีอาทิอย่างนี้ ​ คือ –
  
บรรทัด 417: บรรทัด 421:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 156)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 156)''</​fs></​sub>​
  
-====หลักการเลือกอาจารย์กัมมัฏฐานหลังพุทธปรินิพพาน====+==หลักการเลือกอาจารย์กัมมัฏฐานหลังพุทธปรินิพพาน==
  
 ก็แหละ ​  ​กัลยาณมิตรผู้สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติทุก ๆ  ประการนั้น ​ คือ ​  ​พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ​  ​โดยพระบาลีรับรองว่า- ​   ก็แหละ ​  ​กัลยาณมิตรผู้สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติทุก ๆ  ประการนั้น ​ คือ ​  ​พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ​  ​โดยพระบาลีรับรองว่า- ​  
บรรทัด 439: บรรทัด 443:
 เพราะเหตุฉะนั้น ​ โยคีบุคคลพึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้กัมมัฏฐาน ​ ซึ่งมีคุณสมบัติเห็นปานฉะนี้ ​ ทำวัตรปฏิบัติแก่ท่านแล้ว ​ พึงท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานเถิด เพราะเหตุฉะนั้น ​ โยคีบุคคลพึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้กัมมัฏฐาน ​ ซึ่งมีคุณสมบัติเห็นปานฉะนี้ ​ ทำวัตรปฏิบัติแก่ท่านแล้ว ​ พึงท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานเถิด
  
-====ระเบียบเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร====+==ระเบียบเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร==
  
 แหละถ้าโยคีบุคคลได้กัลยาณมิตรนั้นในวัดเดียวกัน ​ ข้อนั้นนับว่าเป็นบุญ ​ แต่ถ้าหาไม่ได้ ​ ท่านอยู่ ​ ณ  วัดใดก็พึงไป ​ ณ  ที่วัดนั้น ​ และเมื่อไปนั้น ​ อย่าล้างเท้า ​ อย่าทาน้ำมัน ​ อย่าสวมรองเท้า ​ อย่ากั้นร่ม ​ อย่าให้ศิษย์ช่วยถือทนานน้ำมันและน้ำผึ้งน้ำอ้อยเป็นต้น ​ อย่าไปอย่างมีอันเตวาสิกห้อมล้อม ​ แต่พึงไปอย่างนี้ ​ คือ ​ พึงทำคมิกวัตร ​ (วัตรของผู้เตรียมจะไป) ​ ให้เสร็จบริบูรณ์แล้วถือเอาบาตรและจีวรของตนด้วยตนเองไป ​ เมื่อแวะพัก ​ ณ  วัดใด ๆ  ใน แหละถ้าโยคีบุคคลได้กัลยาณมิตรนั้นในวัดเดียวกัน ​ ข้อนั้นนับว่าเป็นบุญ ​ แต่ถ้าหาไม่ได้ ​ ท่านอยู่ ​ ณ  วัดใดก็พึงไป ​ ณ  ที่วัดนั้น ​ และเมื่อไปนั้น ​ อย่าล้างเท้า ​ อย่าทาน้ำมัน ​ อย่าสวมรองเท้า ​ อย่ากั้นร่ม ​ อย่าให้ศิษย์ช่วยถือทนานน้ำมันและน้ำผึ้งน้ำอ้อยเป็นต้น ​ อย่าไปอย่างมีอันเตวาสิกห้อมล้อม ​ แต่พึงไปอย่างนี้ ​ คือ ​ พึงทำคมิกวัตร ​ (วัตรของผู้เตรียมจะไป) ​ ให้เสร็จบริบูรณ์แล้วถือเอาบาตรและจีวรของตนด้วยตนเองไป ​ เมื่อแวะพัก ​ ณ  วัดใด ๆ  ใน
บรรทัด 449: บรรทัด 453:
 ก่อนแต่จะเข้าไปสู่วัดนั้น ​ พึงให้ทำไม้ชำระฟันให้เป็นกัปปิยะสมควรแก่ที่จะใช้ได้เสียแต่ในระหว่างทาง ​ แล้วพึงถือเข้าไป ​ และอย่าได้ไปแวะพัก ​ ณ  บริเวณอื่น ​ ด้วยตั้งใจว่าจะแวะพักสักครู่หนึ่ง ​ ล้างเท้าทาน้ำมันเท้าเป็นต้นแล้วจึงจะไปสำนักของอาจารย์ ​ เพราะเหตุไร ?  เพราะว่า ​ ถ้าในวัดนั้นจะพึงมีพวกภิกษุที่ไม่ลงคลองกันกับอาจารย์นั้น ​ ภิกษุเหล่านั้น ​ ก็จะพึงซักถามถึงเหตุที่มาแล้ว ​ ประกาศตำหนิติโทษของอาจารย์ให้ฟัง ​ จะพึงก่อกวนให้เกิดความเดือดร้อนใจว่า ​ ฉิบหายแล้วสิ ​ ถ้าคุณมาสู่สำนักของภิกษุองค์นั้น ​ ข้อนี้ก็จะพึงเป็นเหตุให้ต้องกลับไปเสียจากที่นั่นได้ ​ เพราะฉะนั้น ​ พึงถามถึงที่อยู่ของอาจารย์แล้วตรงไปยังที่นั้นเลยทีเดียว ก่อนแต่จะเข้าไปสู่วัดนั้น ​ พึงให้ทำไม้ชำระฟันให้เป็นกัปปิยะสมควรแก่ที่จะใช้ได้เสียแต่ในระหว่างทาง ​ แล้วพึงถือเข้าไป ​ และอย่าได้ไปแวะพัก ​ ณ  บริเวณอื่น ​ ด้วยตั้งใจว่าจะแวะพักสักครู่หนึ่ง ​ ล้างเท้าทาน้ำมันเท้าเป็นต้นแล้วจึงจะไปสำนักของอาจารย์ ​ เพราะเหตุไร ?  เพราะว่า ​ ถ้าในวัดนั้นจะพึงมีพวกภิกษุที่ไม่ลงคลองกันกับอาจารย์นั้น ​ ภิกษุเหล่านั้น ​ ก็จะพึงซักถามถึงเหตุที่มาแล้ว ​ ประกาศตำหนิติโทษของอาจารย์ให้ฟัง ​ จะพึงก่อกวนให้เกิดความเดือดร้อนใจว่า ​ ฉิบหายแล้วสิ ​ ถ้าคุณมาสู่สำนักของภิกษุองค์นั้น ​ ข้อนี้ก็จะพึงเป็นเหตุให้ต้องกลับไปเสียจากที่นั่นได้ ​ เพราะฉะนั้น ​ พึงถามถึงที่อยู่ของอาจารย์แล้วตรงไปยังที่นั้นเลยทีเดียว
  
-====ระเบียบปฏิบัติต่ออาจารย์====+==ระเบียบปฏิบัติต่ออาจารย์==
  
 ถ้าแหละ ​ แม้อาจารย์นั้นจะเป็นผู้อ่อนพรรษากว่า ​ ก็อย่าพึงยินดีต่อการช่วยรับบาตรและจีวรเป็นต้น ​ ถ้าท่านแก่พรรษากว่า ​ พึงไปไหว้ท่านแล้วยืนคอยอยู่ก่อน ​ พึงเก็บบาตรและจีวรไว้ตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​อาวุโส ​ เก็บบาตรและจีวรเสีย" ​ ถ้าปรารถนาอยากจะดื่มก็จงดื่มตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​อาวุโส ​ นิมนต์ดื่มน้ำ" ​ แต่อย่าพึ่งล้างเท้าทันทีตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​ล้างเท้าเสีย ​ อาวุโส" ​ เพราะถ้าเป็นน้ำที่พระอาจารย์ตักเอามาเอง ​ ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่สมควร ​ แต่เมื่อท่านแนะนำว่า ​ "​ล้างเถิด ​ อาวุโส ​ ฉันไม่ได้ตักมาเองดอก ​ คนอื่นเขาตักมา" ​ พึงไปนั่งล้างเท้า ​ ณ  โอกาสอันกำบังที่อาจารย์มองไม่เห็น ​ หรือ ​ ณ  ส่วนข้างหนึ่งของวิหารอันเป็นที่ว่างเปล่า ถ้าแหละ ​ แม้อาจารย์นั้นจะเป็นผู้อ่อนพรรษากว่า ​ ก็อย่าพึงยินดีต่อการช่วยรับบาตรและจีวรเป็นต้น ​ ถ้าท่านแก่พรรษากว่า ​ พึงไปไหว้ท่านแล้วยืนคอยอยู่ก่อน ​ พึงเก็บบาตรและจีวรไว้ตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​อาวุโส ​ เก็บบาตรและจีวรเสีย" ​ ถ้าปรารถนาอยากจะดื่มก็จงดื่มตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​อาวุโส ​ นิมนต์ดื่มน้ำ" ​ แต่อย่าพึ่งล้างเท้าทันทีตามที่ท่านแนะนำว่า ​ "​ล้างเท้าเสีย ​ อาวุโส" ​ เพราะถ้าเป็นน้ำที่พระอาจารย์ตักเอามาเอง ​ ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่สมควร ​ แต่เมื่อท่านแนะนำว่า ​ "​ล้างเถิด ​ อาวุโส ​ ฉันไม่ได้ตักมาเองดอก ​ คนอื่นเขาตักมา" ​ พึงไปนั่งล้างเท้า ​ ณ  โอกาสอันกำบังที่อาจารย์มองไม่เห็น ​ หรือ ​ ณ  ส่วนข้างหนึ่งของวิหารอันเป็นที่ว่างเปล่า
บรรทัด 471: บรรทัด 475:
 อรรถาธิบายพิสดารในหัวข้อสังเขปว่า ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐาน ​ ยุติเพียงเท่านี้ อรรถาธิบายพิสดารในหัวข้อสังเขปว่า ​ พึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้พระกัมมัฏฐาน ​ ยุติเพียงเท่านี้
  
-====จริยา ​ 6  อย่าง====+==จริยา ​ 6  อย่าง==
  
 บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ อันเหมาะสมแก่จริยาของตน ​ ฉะนี้ต่อไป – บัดนี้ ​ จะอรรถาธิบายในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ อันเหมาะสมแก่จริยาของตน ​ ฉะนี้ต่อไป –
บรรทัด 761: บรรทัด 765:
 ส่วนกัมมัฏฐานอันเหมาะสมแก่จริยานั้น ​ ข้าพเจ้ายังจะไม่แสดงให้แจ้งชัดโดยสิ้นเชิงก่อน ​ เพราะกัมมัฏฐานนั้น ๆ  จักปรากฏแจ้งชัดด้วยตัวเอง ​ ในอรรถาธิบายพิสดารของหัวข้อถัดไปนี้ ส่วนกัมมัฏฐานอันเหมาะสมแก่จริยานั้น ​ ข้าพเจ้ายังจะไม่แสดงให้แจ้งชัดโดยสิ้นเชิงก่อน ​ เพราะกัมมัฏฐานนั้น ๆ  จักปรากฏแจ้งชัดด้วยตัวเอง ​ ในอรรถาธิบายพิสดารของหัวข้อถัดไปนี้
  
-====10 วิธีวินิจฉัยกัมมัฏฐาน 40====+==10 วิธีวินิจฉัยกัมมัฏฐาน 40==
  
 เพราะเหตุฉะนั้น ​ ในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาพระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการ ​ ฉะนี้นั้น ​ ประการแรกนักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยอาการ ​ 10  อย่าง ​ ดังนี้ ​ คือ- เพราะเหตุฉะนั้น ​ ในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ว่า ​ ท่องจำเอาพระกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาพระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการ ​ ฉะนี้นั้น ​ ประการแรกนักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยอาการ ​ 10  อย่าง ​ ดังนี้ ​ คือ-
บรรทัด 787: บรรทัด 791:
 10.      วิธีเหมาะสมแก่จริยา 10.      วิธีเหมาะสมแก่จริยา
  
-=====โดยอธิบายวิธีนับจำนวน=====+===โดยอธิบายวิธีนับจำนวน===
  
 ในวิธีวินิจฉัย ​ 10  ข้อนั้น ​ ข้อแรกว่า ​ โดยอธิบายวิธีนับจำนวน ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็ข้าพเจ้าได้กล่าวมาแล้วว่า ​ ในบรรดาพระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการ ดังนี้ หมายถึง พระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น (จัดเป็น 7 ประเภท) คือ – ในวิธีวินิจฉัย ​ 10  ข้อนั้น ​ ข้อแรกว่า ​ โดยอธิบายวิธีนับจำนวน ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็ข้าพเจ้าได้กล่าวมาแล้วว่า ​ ในบรรดาพระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการ ดังนี้ หมายถึง พระกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น (จัดเป็น 7 ประเภท) คือ –
บรรทัด 795: บรรทัด 799:
 2.      อสุภกัมมัฏฐาน ​ 10  อย่าง 2.      อสุภกัมมัฏฐาน ​ 10  อย่าง
  
-3.      อนุสสติกัมมัฏฐาน ​ 10  อย่าง+3.      อนุสสติกัมมัฏฐาน ​ 10  อย่าง ​(ุ6+4)
  
 4.      พรหมวิหารกัมมัฏฐาน ​ 4  อย่าง 4.      พรหมวิหารกัมมัฏฐาน ​ 4  อย่าง
บรรทัด 909: บรรทัด 913:
 นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยแสดงจำนวน ​ ด้วยประการฉะนี้ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยแสดงจำนวน ​ ด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยนำมาซึ่งอุปจารฌานและอัปปนาฌาน=====+===โดยนำมาซึ่งอุปจารฌานและอัปปนาฌาน===
  
 ข้อว่า ​ โดยนำมาซึ่งอุปจารฌานและอัปปนาฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้- ​ ก็แหละ ​ ในกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น ​ เฉพาะกัมมัฏฐาน ​ 10  ประการ ​ คือ ​ ยกเว้นกายคตาสติกับอานาปานสติเสีย ​ อนุสสติกัมมัฏฐานที่เหลือ ​ 8  กับอาหาเรปฏิกูลสัญญา ​ 1  จตุธาตุววัตถาน ​ 1  นำมาซึ่งอุปจารฌาน ​ กัมมัฏฐานที่เหลือ ​ 30  ประการ ​ นำมาซึ่งอัปปนาฌาน ข้อว่า ​ โดยนำมาซึ่งอุปจารฌานและอัปปนาฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้- ​ ก็แหละ ​ ในกัมมัฏฐาน ​ 40  ประการนั้น ​ เฉพาะกัมมัฏฐาน ​ 10  ประการ ​ คือ ​ ยกเว้นกายคตาสติกับอานาปานสติเสีย ​ อนุสสติกัมมัฏฐานที่เหลือ ​ 8  กับอาหาเรปฏิกูลสัญญา ​ 1  จตุธาตุววัตถาน ​ 1  นำมาซึ่งอุปจารฌาน ​ กัมมัฏฐานที่เหลือ ​ 30  ประการ ​ นำมาซึ่งอัปปนาฌาน
บรรทัด 917: บรรทัด 921:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 179)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 179)''</​fs></​sub>​
  
-=====โดยความต่างกันแห่งฌาน=====+===โดยความต่างกันแห่งฌาน===
  
 ข้อว่า ​ โดยความต่างกันแห่งฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  แหละในกัมมัฏฐาน ​ 30  ประการที่นำมาซึ่งอัปปนาฌานนั้น ​ กสิณ ​ 10  กับ ​ อานาปานสติ ​ 1  รวมเป็น ​ 11  ประการ ​ ย่อมให้สำเร็จฌานได้ทั้ง ​ 4  ฌาน ​ อสุภ 10  กับ ​ กายคตาสติ 1  รวมเป็น 11  ประการ ​ ย่อมให้สำเร็จเพียงปฐมฌานอย่างเดียว ​ พรหมวิหาร 3  ข้างต้นให้สำเร็จฌาน 3  ข้างต้น ​ พรหมวิหาร ​ ข้อที่ 4  และอรุปปกัมมัฏฐาน 4  ย่อมให้สำเร็จฌานที่ 4 ข้อว่า ​ โดยความต่างกันแห่งฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  แหละในกัมมัฏฐาน ​ 30  ประการที่นำมาซึ่งอัปปนาฌานนั้น ​ กสิณ ​ 10  กับ ​ อานาปานสติ ​ 1  รวมเป็น ​ 11  ประการ ​ ย่อมให้สำเร็จฌานได้ทั้ง ​ 4  ฌาน ​ อสุภ 10  กับ ​ กายคตาสติ 1  รวมเป็น 11  ประการ ​ ย่อมให้สำเร็จเพียงปฐมฌานอย่างเดียว ​ พรหมวิหาร 3  ข้างต้นให้สำเร็จฌาน 3  ข้างต้น ​ พรหมวิหาร ​ ข้อที่ 4  และอรุปปกัมมัฏฐาน 4  ย่อมให้สำเร็จฌานที่ 4
บรรทัด 923: บรรทัด 927:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยความต่างกันแห่งฌานด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยความต่างกันแห่งฌานด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยผ่านองค์ฌานและอารมณ์=====+===โดยผ่านองค์ฌานและอารมณ์===
  
 ข้อว่า ​ โดยผ่านองค์ฌานและอารมณ์ ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  การผ่านนั้นมี 2  อย่าง ​ คือ ​ การผ่านองค์ฌาน 1  การผ่านอารมณ์ 1  ใน 2  อย่างนั้น ​ การผ่านองค์ฌานย่อมมีได้ในกัมมัฏฐานที่ให้สำเร็จฌาน 3  และฌาน 4  แม้ทั้งหมด ​ ทั้งนี้ ​ เพราะทุติยฌาน ​ เป็นต้นที่ฌานลาภีบุคคลจะพึงได้บรรลุในอารมณ์เดียวกันนั้น ​ ต้องผ่านองค์ฌานทั้งหลาย ​ มีวิตกและวิจารเป็นต้นขึ้นไป ​ ในพรหมวิหารข้อที่ 4  ก็เหมือนกัน ​ เพราะแม้พรหมวิหารข้อที่ 4  นั้น ​ อันฌานลาภีบุคคลจะพึงได้บรรลุ ​ ก็ต้องผ่านโสมนัสเวทนาในอารมณ์ของพรหมวิหาร 3   ​มีเมตตาเป็นต้นไปเหมือนกัน ข้อว่า ​ โดยผ่านองค์ฌานและอารมณ์ ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  การผ่านนั้นมี 2  อย่าง ​ คือ ​ การผ่านองค์ฌาน 1  การผ่านอารมณ์ 1  ใน 2  อย่างนั้น ​ การผ่านองค์ฌานย่อมมีได้ในกัมมัฏฐานที่ให้สำเร็จฌาน 3  และฌาน 4  แม้ทั้งหมด ​ ทั้งนี้ ​ เพราะทุติยฌาน ​ เป็นต้นที่ฌานลาภีบุคคลจะพึงได้บรรลุในอารมณ์เดียวกันนั้น ​ ต้องผ่านองค์ฌานทั้งหลาย ​ มีวิตกและวิจารเป็นต้นขึ้นไป ​ ในพรหมวิหารข้อที่ 4  ก็เหมือนกัน ​ เพราะแม้พรหมวิหารข้อที่ 4  นั้น ​ อันฌานลาภีบุคคลจะพึงได้บรรลุ ​ ก็ต้องผ่านโสมนัสเวทนาในอารมณ์ของพรหมวิหาร 3   ​มีเมตตาเป็นต้นไปเหมือนกัน
บรรทัด 933: บรรทัด 937:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 180)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 180)''</​fs></​sub>​
  
-=====โดยควรขยายและไม่ควรขยาย=====+===โดยควรขยายและไม่ควรขยาย===
  
 ข้อว่า ​ โดยควรขยายและไม่ควรขยาย ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ ข้อว่า ​ โดยควรขยายและไม่ควรขยาย ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้
บรรทัด 965: บรรทัด 969:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยควรขยายและไม่ควรขยายด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยควรขยายและไม่ควรขยายด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยอารมณ์ของฌาน=====+===โดยอารมณ์ของฌาน===
  
 ข้อว่า ​ โดยอารมณ์ของฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็แหละในกัมมัฏฐาน 40  ประการนั้น ​ กสิณ 10  อสุภ 10  อานาปานสติ 1  กายคตาสติ 1  รวม 22  กัมมัฏฐานนี้ ​ มีอารมณ์เป็นปฏิภาคนิมิต ​ กัมมัฏฐานที่เหลือ 18  มีอารมณ์ไม่เป็นปฏิภาคนิมิต ข้อว่า ​ โดยอารมณ์ของฌาน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็แหละในกัมมัฏฐาน 40  ประการนั้น ​ กสิณ 10  อสุภ 10  อานาปานสติ 1  กายคตาสติ 1  รวม 22  กัมมัฏฐานนี้ ​ มีอารมณ์เป็นปฏิภาคนิมิต ​ กัมมัฏฐานที่เหลือ 18  มีอารมณ์ไม่เป็นปฏิภาคนิมิต
บรรทัด 977: บรรทัด 981:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานในอารมณ์ของฌานด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานในอารมณ์ของฌานด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยภูมิเป็นที่บังเกิด=====+===โดยภูมิเป็นที่บังเกิด===
  
 ก็แหละ ​ ในข้อว่า ​ โดยภูมิเป็นที่บังเกิด ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  อสุภกัมมัฏฐาน 10  กายคตาสติ 1  อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1  รวม ​ 12  กัมมัฏฐานนี้ ​ ย่อมไม่บังเกิดในเทวโลกชั้นกามาวจร ​ เพราะซากศพและอาหารอันน่าเกลียดไม่มีในเทวโลกชั้นนั้น ​ กัมมัฏฐาน 12  นั้น ​ รวมกับอานาปานสติ 1  เป็น 13  กัมมัฏฐานนี้ ​ ย่อมไม่บังเกิดในพรหมโลก ​ เพราะลมอัสสาสะปัสสาสะไม่มีในพรหมโลก ​ กัมมัฏฐานอื่น ๆ  นอกจากอารุปปกัมมัฏฐาน 4  แล้ว ย่อมไม่บังเกิดในอรูปภพ ​ ส่วนในโลกมนุษย์ ​ กัมมัฏฐานบังเกิดได้ครบหมดทั้ง ​ 40  ประการ  ​ ก็แหละ ​ ในข้อว่า ​ โดยภูมิเป็นที่บังเกิด ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  อสุภกัมมัฏฐาน 10  กายคตาสติ 1  อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1  รวม ​ 12  กัมมัฏฐานนี้ ​ ย่อมไม่บังเกิดในเทวโลกชั้นกามาวจร ​ เพราะซากศพและอาหารอันน่าเกลียดไม่มีในเทวโลกชั้นนั้น ​ กัมมัฏฐาน 12  นั้น ​ รวมกับอานาปานสติ 1  เป็น 13  กัมมัฏฐานนี้ ​ ย่อมไม่บังเกิดในพรหมโลก ​ เพราะลมอัสสาสะปัสสาสะไม่มีในพรหมโลก ​ กัมมัฏฐานอื่น ๆ  นอกจากอารุปปกัมมัฏฐาน 4  แล้ว ย่อมไม่บังเกิดในอรูปภพ ​ ส่วนในโลกมนุษย์ ​ กัมมัฏฐานบังเกิดได้ครบหมดทั้ง ​ 40  ประการ  ​
บรรทัด 983: บรรทัด 987:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยภูมิเป็นที่บังเกิด ด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยภูมิเป็นที่บังเกิด ด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยการถือเอา=====+===โดยการถือเอา===
  
 ในข้อว่า ​ โดยการถือเอา ​ นั้น ​ พึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐาน ​ แม้โดยการถือเอาด้วยวัตถุที่ได้เห็น, ​ ได้ถูกต้อง ​ และที่ได้ยินดังนี้ -  ในกัมมัฏฐานเหล่านั้น ​ ยกเว้นวาโยกสิณเสีย ​ กสิณที่เหลือ 9  กับ ​ อสุภ 10  รวมเป็น 19  กัมมัฏฐานนี้ ​ พึงถือเอาได้ด้วยสีที่ได้เห็น ​ อธิบายว่า ​ ในเบื้องต้นต้องแลดูด้วยตาเสียก่อนแล้วจึงถือเอานิมิตของกัมมัฏฐานเหล่านั้นได้ในกายคตาสติ ​ อาการ 5  คือ ​ ผม, ​ ขน, ​ เล็บ, ​ ฟัน, ​ และหนัง ​ พึงถือเอาได้ด้วยสีที่ได้เห็น ​ อาการที่เหลือ 27  พึงถือเอาได้ด้วยเสียงที่ได้ยิน ​ ดังนั้น ​ อารมณ์ของกายคตาสติกัมมัฏฐาน ในข้อว่า ​ โดยการถือเอา ​ นั้น ​ พึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐาน ​ แม้โดยการถือเอาด้วยวัตถุที่ได้เห็น, ​ ได้ถูกต้อง ​ และที่ได้ยินดังนี้ -  ในกัมมัฏฐานเหล่านั้น ​ ยกเว้นวาโยกสิณเสีย ​ กสิณที่เหลือ 9  กับ ​ อสุภ 10  รวมเป็น 19  กัมมัฏฐานนี้ ​ พึงถือเอาได้ด้วยสีที่ได้เห็น ​ อธิบายว่า ​ ในเบื้องต้นต้องแลดูด้วยตาเสียก่อนแล้วจึงถือเอานิมิตของกัมมัฏฐานเหล่านั้นได้ในกายคตาสติ ​ อาการ 5  คือ ​ ผม, ​ ขน, ​ เล็บ, ​ ฟัน, ​ และหนัง ​ พึงถือเอาได้ด้วยสีที่ได้เห็น ​ อาการที่เหลือ 27  พึงถือเอาได้ด้วยเสียงที่ได้ยิน ​ ดังนั้น ​ อารมณ์ของกายคตาสติกัมมัฏฐาน
บรรทัด 993: บรรทัด 997:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยการถือเอา ด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยการถือเอา ด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน=====+===โดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน===
  
 ข้อว่า ​ โดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็แหละในบรรดากัมมัฏฐานเหล่านี้ ​ ยกเว้นอากาสกสิณเสีย ​ กสิณที่เหลือ 9  ประการ ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อารุปปฌานทั้งหลาย ​ กสิณทั้ง 10  ประการ ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อภิญญาทั้งหลาย ​  ​พรหมวิหาร 3  (ข้างต้น) ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่พรหมวิหารข้อที่ 4  อารุปปกัมมัฏฐานบทต่ำ ๆ  ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อารุปปกัมมัฏฐานบทสูง ๆ  เนวสัญญานาสัญญายตนกัมมัฏฐาน ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่นิโรธสมาบัติ ​ กัมมัฏฐานแม้ทั้งหมด ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่การอยู่เป็นสุข ​ แก่วิปัสนากัมมัฏฐาน ​ และแก่ภวสมบัติทั้งหลาย ข้อว่า ​ โดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังนี้ -  ก็แหละในบรรดากัมมัฏฐานเหล่านี้ ​ ยกเว้นอากาสกสิณเสีย ​ กสิณที่เหลือ 9  ประการ ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อารุปปฌานทั้งหลาย ​ กสิณทั้ง 10  ประการ ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อภิญญาทั้งหลาย ​  ​พรหมวิหาร 3  (ข้างต้น) ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่พรหมวิหารข้อที่ 4  อารุปปกัมมัฏฐานบทต่ำ ๆ  ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่อารุปปกัมมัฏฐานบทสูง ๆ  เนวสัญญานาสัญญายตนกัมมัฏฐาน ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่นิโรธสมาบัติ ​ กัมมัฏฐานแม้ทั้งหมด ​ ย่อมเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่การอยู่เป็นสุข ​ แก่วิปัสนากัมมัฏฐาน ​ และแก่ภวสมบัติทั้งหลาย
บรรทัด 999: บรรทัด 1003:
 ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน ด้วยประการฉะนี้ ฉะนั้น ​ นักศึกษาพึงทราบการวินิจฉัยกัมมัฏฐานโดยความเป็นปัจจัยเกื้อหนุน ด้วยประการฉะนี้
  
-=====โดยเหมาะสมแก่จริยา=====+===โดยเหมาะสมแก่จริยา===
  
 ในข้อว่า ​ โดยเหมาะสมแก่จริยา ​  ​นี้ ​ พึงทราบการวินิจฉัยแม้โดยความเหมาะสม ​ แก่จริยาทั้งหลาย ​ ดังนี้ – ในข้อว่า ​ โดยเหมาะสมแก่จริยา ​  ​นี้ ​ พึงทราบการวินิจฉัยแม้โดยความเหมาะสม ​ แก่จริยาทั้งหลาย ​ ดังนี้ –
บรรทัด 1023: บรรทัด 1027:
 <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 186)''</​fs></​sub>​ <​sub><​fs smaller>''​(หน้าที่ 186)''</​fs></​sub>​
  
-====วิธีท่องจำเอา(เรียน)กัมมัฏฐาน====+==วิธีท่องจำเอา(เรียน)กัมมัฏฐาน==
  
 ก็แหละ ​ คำว่า ​ ท่องจำเอา (เรียน) ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ – ก็แหละ ​ คำว่า ​ ท่องจำเอา (เรียน) ​ นั้น ​ มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้ –
บรรทัด 1081: บรรทัด 1085:
 นี้เป็นอานิสงส์ในการมอบถวายตัว ​  ​ด้วยเหตุนี้ ​  ​ข้าพเจ้าจึงได้กล่าวไว้ว่า ​  ​พึงมอบถวายตัวแด่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าหรือแก่อาจารย์ ​  ​ฉะนี้ นี้เป็นอานิสงส์ในการมอบถวายตัว ​  ​ด้วยเหตุนี้ ​  ​ข้าพเจ้าจึงได้กล่าวไว้ว่า ​  ​พึงมอบถวายตัวแด่พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าหรือแก่อาจารย์ ​  ​ฉะนี้
  
-====โยคีผู้มีอัชฌาสัยและอธิมุติสมบูรณ์====+==โยคีผู้มีอัชฌาสัยและอธิมุติสมบูรณ์==
  
 ก็แหละ ​  ​ในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วว่า ​  ​เป็นผู้มีอัชฌาสัยอันสมบูรณ์และมีอธิมุติอันสมบูรณ์ ​  ​ฉะนี้นั้น ​  ​มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้- ก็แหละ ​  ​ในหัวข้อสังเขปที่ข้าพเจ้ากล่าวมาแล้วว่า ​  ​เป็นผู้มีอัชฌาสัยอันสมบูรณ์และมีอธิมุติอันสมบูรณ์ ​  ​ฉะนี้นั้น ​  ​มีอรรถาธิบายดังต่อไปนี้-
บรรทัด 1173: บรรทัด 1177:
 แม้ในกัมมัฏฐานที่เหลือทั้งหลาย ​ ก็พึงสอนลำดับขั้นตอนอันสมควรแก่กัมมัฏฐานนั้น ๆ  ลำดับขั้นตอนทั้งหมดนั้นจักแจ้งชัดในวิธีภาวนาของกัมมัฏฐานทั้งหลายเหล่านั้น แม้ในกัมมัฏฐานที่เหลือทั้งหลาย ​ ก็พึงสอนลำดับขั้นตอนอันสมควรแก่กัมมัฏฐานนั้น ๆ  ลำดับขั้นตอนทั้งหมดนั้นจักแจ้งชัดในวิธีภาวนาของกัมมัฏฐานทั้งหลายเหล่านั้น
  
-====โยคีบุคคลต้องจำให้แม่นยำ====+==โยคีบุคคลต้องจำให้แม่นยำ==
  
 ก็แหละ ​ เมื่ออาจารย์สอนกัมมัฏฐานให้อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ ​ โยคีบุคคลนั้นพึงตั้งใจฟัง ​ เพื่อท่องจำเอานิมิตนั้นให้ได้ ​ คือ เอาอาการ 9 อย่างนั้นแต่ละอย่างๆ ​ มาผูกไว้ในใจอย่างนี้ว่า ​ "​คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า, ​ ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้, ​ จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้, ​ และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_7_ฉอนุสสตินิทเทส#​1._อธิบายบท_สวากฺขาโต|ความงาม 3 ของปริยัติธรรม]] ได้แสดงไว้) ก็แหละ ​ เมื่ออาจารย์สอนกัมมัฏฐานให้อยู่ด้วยอาการอย่างนี้ ​ โยคีบุคคลนั้นพึงตั้งใจฟัง ​ เพื่อท่องจำเอานิมิตนั้นให้ได้ ​ คือ เอาอาการ 9 อย่างนั้นแต่ละอย่างๆ ​ มาผูกไว้ในใจอย่างนี้ว่า ​ "​คำนี้เป็นบทหลัง,​ คำนี้เป็นบทหน้า, ​ ความหมายของบทนั้นๆ เป็นอย่างนี้, ​ จุดมุ่งหมายของบทนั้นเป็นอย่างนี้, ​ และบทนี้เป็นคำอุปมาอุปไมย"​ (จดจำได้ชำนาญนึกหัวถึงท้าย นึกท้ายถึงหัว เหมือนในบทธรรมคุณข้อว่า [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_7_ฉอนุสสตินิทเทส#​1._อธิบายบท_สวากฺขาโต|ความงาม 3 ของปริยัติธรรม]] ได้แสดงไว้)
บรรทัด 1191: บรรทัด 1195:
 '''​ยุติลงด้วยประการฉะนี้'''​ '''​ยุติลงด้วยประการฉะนี้'''​
  
-==ดูเพิ่ม==+=ดูเพิ่ม=
 *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​ *'''​[http://​www.84000.org/​tipitaka/​pitaka2/​sutta23.php ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค]'''​
 *'''​[[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​ *'''​[[วิสุทธิมรรค ฉบับปรับสำนวน]] (สารบัญ)'''​