มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2020/06/29 16:52]
dhamma
มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน [2021/01/02 20:14] (ฉบับปัจจุบัน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
-{{wst>วสธมฉปส head| }} +{{template:วสธมฉปส head| }} 
-{{wst>​วสธมฉปส ​sidebar}}+{{template:บับรับำนวน head|}}
 =เหตุเกิดพระสูตร= =เหตุเกิดพระสูตร=
  
 9. มหาสติปัฏฐานสูตร (22) 9. มหาสติปัฏฐานสูตร (22)
  
-[273]   ​ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้+[273]   [[https://​84000.org/​tipitaka/​attha/​attha.php?​b=9&​i=1&​p=2#​อรรถกถาพรหมชาลสูตร|ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้]]
  
 สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในกุรุชนบท มีนิคมของชาวกุรุ ชื่อว่ากัมมาสทัมมะ ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ​ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในกุรุชนบท มีนิคมของชาวกุรุ ชื่อว่ากัมมาสทัมมะ ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธภาษิตนี้ว่า ​
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถนน คือ มรรคนี้ มีปลายทางหนึ่งเดียว เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. มรรคนี้ คือ สติปัฏฐาน 4 ประการ (สัมมาสติ 4). สติปัฏฐาน 4 ประการ เป็นไฉน? ​ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถนน คือ มรรคนี้ มีปลายทางหนึ่งเดียว เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. มรรคนี้ คือ สติปัฏฐาน 4 ประการ (สัมมาสติ 4). สติปัฏฐาน 4 ประการ เป็นไฉน? ​
  
-# ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ [https://​sutta.men/?​th.r.104.161.0.0.อนุปสฺสนสีโล เฝ้า][https://​th.wikisource.org/​wiki/​ปฏิสัมภิทามรรค_ปัญญาวรรค#​ปัญญาวรรค_สติปัฏฐานกถา อนุปัสสนา 7] [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​กายานุปสฺสี แยกกาย]ในกองกรัชกาย[https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.กาเย,​กาโย,​กาย ออกเป็นส่วนๆ] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อิริยติ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อาตาปีติ มีความเพียรเผากิเลส 4] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.ปชานาติ,​สมฺปชานการี มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.20.สมฺมาสติฯ มีสติ 4] กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 [[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​สมุทยสัจนิทเทส ในโลก]] คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้+# ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ [https://​sutta.men/?​th.r.104.161.0.0.อนุปสฺสนสีโล เฝ้า][[ปฏิสัมภิทามรรค_21-30_ปัญญาวรรค#​ปัญญาวรรค_สติปัฏฐานกถา|อนุปัสสนา 7]] [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​กายานุปสฺสี|แยกกาย]]ในกองกรัชกาย[https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.กาเย,​กาโย,​กาย ออกเป็นส่วนๆ] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อิริยติ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.50.201.0.0.อาตาปีติ มีความเพียรเผากิเลส 4] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.15.ปชานาติ,​สมฺปชานการี มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7] [https://​sutta.men/?​th.r.7.231.0.20.สมฺมาสติฯ มีสติ 4] กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 [[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​สมุทยสัจนิทเทส|ในโลก]] คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
 # ตามอนุปัสสนา 7 แยกเวทนาในกองเวทนาออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้ # ตามอนุปัสสนา 7 แยกเวทนาในกองเวทนาออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
 # ตามอนุปัสสนา 7 แยกจิตในจิตออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้ # ตามอนุปัสสนา 7 แยกจิตในจิตออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มีความเพียรเผากิเลส 4 มีสัมปชัญญะทำปชานะอยู่ในฐานะ 7 มีสติ 4 กำจัดอภิชฌาและโทมนัส คือ นิวรณ์ 5 และ สังโยชน์ 10 ในโลก คือ ปิยรูปสาตรูป 60 เสียได้
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
 การหมุนบรรพะตามสีหวิกกีฬิตนัย (พุทธาสยะ) จะหมุนประมาณนี้:​ การหมุนบรรพะตามสีหวิกกีฬิตนัย (พุทธาสยะ) จะหมุนประมาณนี้:​
  
-[https://​th.wikisource.org/​wiki/​กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน กายคตาสติสูตร]:​ นิสีทติอานาปานัสสติจตุกกะแรก ภายในภายนอก > ขยญาณ (วิปัสสนาปิดท้ายทั้งข้อนี้และทุกลำดับต่อจากนี้ ต้องทำขยญาณปิดท้ายทุกบรรพะ ด้วยบทว่า สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี หรือเฉพาะอานาปานาบรรพ ตาม จตุกกะ 2-4 อานาปานสติสูตร ถ้าทำแล้วไม่บรรลุ ก็ทำข้อต่อไป) -> นิสฺสินฺโนคจฺฉนฺโตฐิโตสยาโนอานาปานัสสสติจตุกกะแรก ในนอก > ขยญาณ -> ฐานะ 7 ในนอก อานาปานัสสติ (จบคำว่า "​วสี"​ จากฏีกากายคตาสติสูตรเฉพาะอานาปานะ จริงๆ โครงสร้างทั้ง 2 สูตรแสดงวสีอยู่แล้ว ทั้งลำดับ ทั้งบริบท ทั้งฏีกา) > ขยญาณ -> แยกกายเป็นอวัยวะนิมิตบัญญัติ 32 ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  แยกธาตุ 4 ของอวัยวะ จนได้นิมิตบัญญัติ (แบบไม่สมบูรณ์ เพราะอารมณ์เป็นกามธรรมคือธาตุ 4 แต่ต้น จึงได้เพียงอุปจารฌาน) หรือ ถ้าได้อานาปานฌานจะทำทั้งตัวเลยก็ได้ เพราะเคยเห็นอานาปานกลาปนิมิตมาก่อนแล้วที่จุดกระทบ (มหาฏีกา อานาปาน) ทั้งหมด ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  นวสีวถิกาอัปปนาฌาน ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก (ข้าพเจ้าเข้าใจว่า บริบทในกายคตาสติสูตรจนถึงตรงนี้เป็นอุปจารสมาธิ โดยติปุกขลนัย ที่ มหาอ.มหาสติ. ว่าไว้ จนกระทั่งถึงจุดที่กายคตาสติสูตรแสดงฌาน) > ขยญาณ -> กสิณ 4 (และสมถกรรมฐาน 40 ที่เหลือ) ใน อิ 4 ฐ 7 ถึงสมาบัติ 8 และ อภิญญา 5 > ขยญาณ -> มหาสติปัฏฐานสูตร ธาตุบรรพะ เริ่มวิปัสสนาแยกธาตุ 4 ให้ได้สภาวะธาตุทั้งร่าง พร้อมทั้งปัจจัย (ดึงอุธํ ปาทตลา มาจากบรรพะก่อน;​ดึงปัจจัยมาจาก ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต กับ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ อ.+ฏี. กับ วิสุทธิ. จตุธาตุ.) ในอิ.นั่ง ​ ในนอก > ขยญาณ ->  เอาอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มาทำสัมมสนญาณ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร,​ อ.สามัญญผลสูตร,​ ขุ.ปฏิ+วิสุทฺธิ.สัมมสนญาณ) > ขยญาณ ->  ทำอาทีนวานุปัสสนา ใน รูปกรรมฐานทั้งปวง ->  เอา เวทนา จิต หรือ สัญญาสังขารธรรม (นามกรรมฐาน) ที่กำลังเกิดขึ้นปรากฎชัดอยู่ มาแยกฆนะ 4 ตามในนิทเทสนั้นๆ แล้วจัดหมวดกิจ 5  ในอริยสัจ ตามธัมมานุปัสสนา > ขยญาณ -> พิจารณาสัจจบรรพะ ​ > ขยญาณ.+[[กายคตาสติสูตร_ฉบับปรับสำนวน|กายคตาสติสูตร]]: นิสีทติอานาปานัสสติจตุกกะแรก ภายในภายนอก > ขยญาณ (วิปัสสนาปิดท้ายทั้งข้อนี้และทุกลำดับต่อจากนี้ ต้องทำขยญาณปิดท้ายทุกบรรพะ ด้วยบทว่า สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี หรือเฉพาะอานาปานาบรรพ ตาม จตุกกะ 2-4 อานาปานสติสูตร ถ้าทำแล้วไม่บรรลุ ก็ทำข้อต่อไป) -> นิสฺสินฺโนคจฺฉนฺโตฐิโตสยาโนอานาปานัสสสติจตุกกะแรก ในนอก > ขยญาณ -> ฐานะ 7 ในนอก อานาปานัสสติ (จบคำว่า "​วสี"​ จากฏีกากายคตาสติสูตรเฉพาะอานาปานะ จริงๆ โครงสร้างทั้ง 2 สูตรแสดงวสีอยู่แล้ว ทั้งลำดับ ทั้งบริบท ทั้งฏีกา) > ขยญาณ -> แยกกายเป็นอวัยวะนิมิตบัญญัติ 32 ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  แยกธาตุ 4 ของอวัยวะ จนได้นิมิตบัญญัติ (แบบไม่สมบูรณ์ เพราะอารมณ์เป็นกามธรรมคือธาตุ 4 แต่ต้น จึงได้เพียงอุปจารฌาน) หรือ ถ้าได้อานาปานฌานจะทำทั้งตัวเลยก็ได้ เพราะเคยเห็นอานาปานกลาปนิมิตมาก่อนแล้วที่จุดกระทบ (มหาฏีกา อานาปาน) ทั้งหมด ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก > ขยญาณ ->  นวสีวถิกาอัปปนาฌาน ในอิ 4 ฐ 7 ในนอก (ข้าพเจ้าเข้าใจว่า บริบทในกายคตาสติสูตรจนถึงตรงนี้เป็นอุปจารสมาธิ โดยติปุกขลนัย ที่ มหาอ.มหาสติ. ว่าไว้ จนกระทั่งถึงจุดที่กายคตาสติสูตรแสดงฌาน) > ขยญาณ -> กสิณ 4 (และสมถกรรมฐาน 40 ที่เหลือ) ใน อิ 4 ฐ 7 ถึงสมาบัติ 8 และ อภิญญา 5 > ขยญาณ -> มหาสติปัฏฐานสูตร ธาตุบรรพะ เริ่มวิปัสสนาแยกธาตุ 4 ให้ได้สภาวะธาตุทั้งร่าง พร้อมทั้งปัจจัย (ดึงอุธํ ปาทตลา มาจากบรรพะก่อน;​ดึงปัจจัยมาจาก ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต กับ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ อ.+ฏี. กับ วิสุทธิ. จตุธาตุ.) ในอิ.นั่ง ​ ในนอก > ขยญาณ ->  เอาอิริยาบถ 4 ฐานะ 7 มาทำสัมมสนญาณ (อ.มหาสติปัฏฐานสูตร,​ อ.สามัญญผลสูตร,​ ขุ.ปฏิ+วิสุทฺธิ.สัมมสนญาณ) > ขยญาณ ->  ทำอาทีนวานุปัสสนา ใน รูปกรรมฐานทั้งปวง ->  เอา เวทนา จิต หรือ สัญญาสังขารธรรม (นามกรรมฐาน) ที่กำลังเกิดขึ้นปรากฎชัดอยู่ มาแยกฆนะ 4 ตามในนิทเทสนั้นๆ แล้วจัดหมวดกิจ 5  ในอริยสัจ ตามธัมมานุปัสสนา > ขยญาณ -> พิจารณาสัจจบรรพะ ​ > ขยญาณ.
  
 อนึ่ง ติปุกขลนัย (ลัดลำดับ) ให้ดูในอรรถกถานั้นๆ. อนึ่ง ติปุกขลนัย (ลัดลำดับ) ให้ดูในอรรถกถานั้นๆ.
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
 ที่เหลืออธิบายไว้ในบทว่า "​อยโน"​ แล้ว. ที่เหลืออธิบายไว้ในบทว่า "​อยโน"​ แล้ว.
  
-การเติมคำว่า "​แยก"​ นี้ มาจากนิทธารณัตถะ (each) ของ สัตตมีวิภัต ที่ปรากฎหลายแห่งในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ กาเย,​ กายสฺมึ,​ เวทนาสุ,​ จิตฺเต,​ จิตฺตสฺมึ,​ ธมฺเมสุ,​ นีวรเณสุ,​ ขนฺเธสุ,​ อชฺฌตฺติกพาหิรายตเนสุ,​ โพชฺฌงฺเคสุ,​ อริยสจฺเจสุ ซึ่งสอดคล้องกับ [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อรรถกถาบทบริกรรมเวทนาจิตตธัมมานุปัสสนา อ.นิทเทสของสติปัฏฐานสูตร] ที่แสดง "​กาเย"​ ในอรรถะว่า "​ถอนฆนบัญญัติ"​ ไว้อย่างละเอียด.+การเติมคำว่า "​แยก"​ นี้ มาจากนิทธารณัตถะ (each) ของ สัตตมีวิภัต ที่ปรากฎหลายแห่งในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ กาเย,​ กายสฺมึ,​ เวทนาสุ,​ จิตฺเต,​ จิตฺตสฺมึ,​ ธมฺเมสุ,​ นีวรเณสุ,​ ขนฺเธสุ,​ อชฺฌตฺติกพาหิรายตเนสุ,​ โพชฺฌงฺเคสุ,​ อริยสจฺเจสุ ซึ่งสอดคล้องกับ [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อรรถกถาบทบริกรรมเวทนาจิตตธัมมานุปัสสนา|อ.นิทเทสของสติปัฏฐานสูตร]] ที่แสดง "​กาเย"​ ในอรรถะว่า "​ถอนฆนบัญญัติ"​ ไว้อย่างละเอียด.
  
 บทอื่น ได้ทำลิงก์ไปยังบรรพะนั้นๆ แล้ว คำอธิบายจักมีในบรรพะนั้นๆ. บทอื่น ได้ทำลิงก์ไปยังบรรพะนั้นๆ แล้ว คำอธิบายจักมีในบรรพะนั้นๆ.
บรรทัด 86: บรรทัด 86:
 ====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน==== ====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน====
  
-ทั้ง ​ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ '''​ในที่นี้'''​ กับทั้ง "​ความมีกัลยาณมิตร"​ ใน [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.นีวรณบรรพ อ.นิวรณ์บรรพะ] และกับทั้ง "​คบหาบุคคลผู้มีสติมั่นคง,​ คบหาบุคคลผู้หมดจด,​ คบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร,​ คบหาบุคคลผู้มีปัญญา,​ คบหาบุคคลผู้สงบกาย,​ คบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ,​ คบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์และสังขาร"​ ใน [https://​th.wikisource.org/​wiki/​อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.โพชฌงคบรรพ อ.โพชฌงค์บรรพะ] ทั้งหมดนี้ล้วนมีอรรถะอันเดียวกัน ต่างกันที่ลำดับก่อนหลัง,​ '''​อธิบายว่า'''​ ใน วิสุทธิ. [https://​th.wikisource.org/​wiki/​วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส กัมมัฏฐานคหณนิทเทส] แสดง "​วิธีการเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร"​ เป็นต้น ไว้ก่อน "​ปถวีกสิณนิทเทส"​ เป็นต้น,​ ตัวอย่างเช่น ​ ผู้ปฏิบติมือใหม่ จะต้องฝึกปริยัติกับอาจารย์ตามวิธีในกัมมัฏฐานคหณนิทเทสนั้นก่อน ถ้าเป็นพระภิกษุก็[http://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=4&​siri=39&​h=ทรงอนุญาตให้ถือนิสสัย#​hl ต้องถือนิสสัย] ถ้าเป็นฆราวาสก็เข้าไปอุปัฏฐากบ้าง สนทนาหรือนั่งสมาธิด้วยกันกับผู้มีจิตเป็นสมาธิทั้งหลายบ้าง เป็นต้น '''​ล้วนเหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติมือใหม่'''​. แต่ท่านใดที่ได้วสีในฌานก็ดี ได้พลววิปัสสนาแล้วก็ดี ก็ถึงจะทำข้อว่า "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ ได้. อนึ่ง แม้เมื่อเป็นอาจารย์ การจะออกจากข้อ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ เพื่อกลับมาเป็นกัลยาณมิตรให้กับลูกศิษย์ก็สมควร แต่ควรรักษาวสีไว้ด้วย เพราะปริยัติอาศัยกามคุณ มี สี เสียง เป็นต้น ในการอ่านพระธรรม ฟังพระธรรม ท่องจำพระธรรม ปริยัติจึงยังเป็นปฏิปักข์ต่อฌาน อาจทำให้ฌานเสื่อมได้ ถ้าวสีไม่มีกำลังพอ,​ ส่วนวิปัสสนานั้นวิสุทธิมรรคไม่ได้กล่าวไว้ว่า มีปริยัติเป้นปฏิปักข์ เพราะวิปัสสนาอาศัยปริยัติมาก ถึงอย่างนั้น อาจารย์ทั้งหลายก็ไม่ควรประมาท เพราะถ้าฌานเสื่อมแล้ว แม้พลววิปัสสนาก็เสื่อมด้วย อธิบายว่า เพราะนิวรณ์เป็นปฏิปักข์ต่อพลววิปัสสนาสมาธิ เนื่องจาก[https://​th.wikisource.org/​wiki/​ปฏิสัมภิทามรรค_มหาวรรค_2#​ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส ภังคญาณตามอนุปัสสนาวิปัสสนาจารจิตอยู่] ถ้าฌานเสื่อมก็เท่ากับนิวรณ์เกิดแทรกฌานและพลววิปัสสนาญาณได้ พลววิปัสสนาญาณก็เป็นอันเสื่อมด้วย ฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายผู้จะอนุเคราะห์ลูกศิษย์ควรรักษาวสีในฌานไว้เถิด.+ทั้ง ​ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ '''​ในที่นี้'''​ กับทั้ง "​ความมีกัลยาณมิตร"​ ใน [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.นีวรณบรรพ|อ.นิวรณ์บรรพะ]] และกับทั้ง "​คบหาบุคคลผู้มีสติมั่นคง,​ คบหาบุคคลผู้หมดจด,​ คบหาบุคคลผู้ปรารภความเพียร,​ คบหาบุคคลผู้มีปัญญา,​ คบหาบุคคลผู้สงบกาย,​ คบหาบุคคลผู้มีจิตเป็นสมาธิ,​ คบหาบุคคลผู้วางตนเป็นกลางในสัตว์และสังขาร"​ ใน [[อรรถกถา_มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน#​อ.โพชฌงคบรรพ|อ.โพชฌงค์บรรพะ]] ทั้งหมดนี้ล้วนมีอรรถะอันเดียวกัน ต่างกันที่ลำดับก่อนหลัง,​ '''​อธิบายว่า'''​ ใน วิสุทธิ. [[วิสุทธิมรรค_ฉบับปรับสำนวน_ปริจเฉท_3_กัมมัฏฐานคหณนิทเทส|กัมมัฏฐานคหณนิทเทส]] แสดง "​วิธีการเข้าหาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตร"​ เป็นต้น ไว้ก่อน "​ปถวีกสิณนิทเทส"​ เป็นต้น,​ ตัวอย่างเช่น ​ ผู้ปฏิบติมือใหม่ จะต้องฝึกปริยัติกับอาจารย์ตามวิธีในกัมมัฏฐานคหณนิทเทสนั้นก่อน ถ้าเป็นพระภิกษุก็[http://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=4&​siri=39&​h=ทรงอนุญาตให้ถือนิสสัย#​hl ต้องถือนิสสัย] ถ้าเป็นฆราวาสก็เข้าไปอุปัฏฐากบ้าง สนทนาหรือนั่งสมาธิด้วยกันกับผู้มีจิตเป็นสมาธิทั้งหลายบ้าง เป็นต้น '''​ล้วนเหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติมือใหม่'''​. แต่ท่านใดที่ได้วสีในฌานก็ดี ได้พลววิปัสสนาแล้วก็ดี ก็ถึงจะทำข้อว่า "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ ได้. อนึ่ง แม้เมื่อเป็นอาจารย์ การจะออกจากข้อ "​อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนปลอดคนก็ดี"​ เพื่อกลับมาเป็นกัลยาณมิตรให้กับลูกศิษย์ก็สมควร แต่ควรรักษาวสีไว้ด้วย เพราะปริยัติอาศัยกามคุณ มี สี เสียง เป็นต้น ในการอ่านพระธรรม ฟังพระธรรม ท่องจำพระธรรม ปริยัติจึงยังเป็นปฏิปักข์ต่อฌาน อาจทำให้ฌานเสื่อมได้ ถ้าวสีไม่มีกำลังพอ,​ ส่วนวิปัสสนานั้นวิสุทธิมรรคไม่ได้กล่าวไว้ว่า มีปริยัติเป้นปฏิปักข์ เพราะวิปัสสนาอาศัยปริยัติมาก ถึงอย่างนั้น อาจารย์ทั้งหลายก็ไม่ควรประมาท เพราะถ้าฌานเสื่อมแล้ว แม้พลววิปัสสนาก็เสื่อมด้วย อธิบายว่า เพราะนิวรณ์เป็นปฏิปักข์ต่อพลววิปัสสนาสมาธิ เนื่องจาก[[ปฏิสัมภิทามรรค_01-2_มหาวรรค#​ภังคานุปัสสนาญาณนิทเทส|ภังคญาณตามอนุปัสสนาวิปัสสนาจารจิตอยู่]] ถ้าฌานเสื่อมก็เท่ากับนิวรณ์เกิดแทรกฌานและพลววิปัสสนาญาณได้ พลววิปัสสนาญาณก็เป็นอันเสื่อมด้วย ฉะนั้น อาจารย์ทั้งหลายผู้จะอนุเคราะห์ลูกศิษย์ควรรักษาวสีในฌานไว้เถิด.
  
 ปชานาติ (ปญฺญา) ในบรรพะนี้ รู้ 4 "ป (ปการ)"​ คือ 1. ลมยาว 2. ลมสั้น 3. ลมสั้นหรือยาวตลอดสาย 4. ลมสั้นหรือยาวที่เบาลงๆ. ปชานาติ (ปญฺญา) ในบรรพะนี้ รู้ 4 "ป (ปการ)"​ คือ 1. ลมยาว 2. ลมสั้น 3. ลมสั้นหรือยาวตลอดสาย 4. ลมสั้นหรือยาวที่เบาลงๆ.
  
-รู้ลม ไม่ใช่รู้ธาตุ 4 ไม่ใช่เย็น ไม่ใช่แข็ง ไม่ใช่กระทบ ลมเป็นอัฏฐกกลาปบัญญัติที่จิตคิดขึ้นจากปฐวีธาตุ ​ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ที่เกิดพร้อมกันอยู่ ธาตุเหล่านี้จึงกระทบกายปสาทะได้ แต่ผู้ปฏิบัติต้องรู้ลมบัญญัติที่ยาวหรือสั้น โดยอาศัยธาตุเหล่านั้นที่จุดกระทบปลายจมูก คือ เมื่อกระทบกู็รู้ลมยาว ลมสั้น ไม่ใช่รู้เย็น ร้อน อ่อนแข็ง ตึงไหว หรือ กระทบ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นธาตุ ไม่ใช่ลมหายใจยาวสั้น. ลมชัดที่สุด จะไม่ย้ายจุดสัมผัส ไม่เช่นนั้นสมาธิจะไม่ตั้งมั่น เพราะไปเน้นรู้กระทบปรมัตถ์แทนลมบัญญัติ (วิวิจฺเจว กาเมหิ) ผู้ปฏิบัติจึงต้องกำหนดอยู่แถวที่ใดที่หนึ่งที่ปลายจมูก ไม่ตามลมเข้าไปข้างในจากปลายจมูกและไม่ตามออกไปนอกจากปลายจมูก.+รู้ลม ไม่ใช่รู้ธาตุ 4 ไม่ใช่เย็น ไม่ใช่แข็ง ไม่ใช่กระทบ ลมเป็นอัฏฐกกลาปบัญญัติที่จิตคิดขึ้นจากปฐวีธาตุ ​ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ที่เกิดพร้อมกันอยู่ ธาตุเหล่านี้จึงกระทบกายปสาทะได้ แต่ผู้ปฏิบัติต้องรู้ลมบัญญัติที่ยาวหรือสั้น โดยอาศัยธาตุเหล่านั้นที่จุดกระทบปลายจมูก คือ เมื่อกระทบกู็รู้ลมยาว ลมสั้น ไม่ใช่รู้เย็น ร้อน อ่อนแข็ง ตึงไหว หรือ กระทบ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นธาตุ ไม่ใช่ลมหายใจยาวสั้น. ลมชัดที่สุด จะไม่ย้ายจุดสัมผัส ไม่เช่นนั้นสมาธิจะไม่ตั้งมั่น เพราะไปเน้นรู้กระทบปรมัตถ์แทนลมบัญญัติ (วิวิจฺเจว กาเมหิ) ผู้ปฏิบัติจึงต้องกำหนดอยู่แถวที่ใดที่หนึ่งที่ปลายจมูก ไม่ตามลมเข้าไปข้างในจากปลายจมูกและไม่ตามออกไปนอกจากปลายจมูก. ​และสำคัญที่สุด คือ ''​รู้ลมเพื่อเจริญกุศลจิตให้ต่อเนื่อง ไม่ใช่รู้ลมเพื่อเจริญลม.''​
  
 ที่อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "​รู้ลมธรรมชาติ ไม่บังคับลม"​ แต่ในบรรพะนี้กล่าวว่า "​ฝึกอยู่ว่า (สิกฺขติ)"​ ทั้ง 2 คำมีความหมายเดียวกัน เพราะลมธรรมชาติ คือ ลมที่เบาลงๆ (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) ซึ่งเป็นอารมณ์ของ ปชานาติ,​ ส่วนการฝึกนั้น คือ "​ปชานาติ"​ที่พยายามฝึกให้เกิดต่อเนื่องตลอดกองลมเข้า/​ออก และ ปชานาติที่พยายามฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ (ลมธรรมชาติ). อีกอย่างหนึ่ง ที่อาจารย์ทั้งหลายไม่ให้บังคับลมก็เพราะผู้ปฏิบัติใหม่บางท่านพยายามจะหายใจให้กระทบชัดๆ การทำเช่นนี้เป็นการดูธาตุ ไม่ใช่การดูลมหายใจบัญญัติ ซึ่งจะทำให้ฟุ้งซ่าน เพราะธาตุเป็นกามธรรมที่พัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตไม่ได้ จึงเป็นปฏิปักข์ต่อสมาธิ แต่ลมหายใจเป็นบัญญัติที่สามารถพัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตได้,​ นอกจากนี้ การบังคับลมจะทำให้เครียด ซึ่งเป็นปฏิปักข์ต่อโพชฌงค์และองค์ฌาน คือ ปัสสัทธิ-สมาธิ-อุเปกขา-ปีติ-สุข ดังนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงแนะนำไม่ให้บังคับลม. แต่การไม่บังคับลมนั้น ก็ต้องฝึกรู้ลมตลอดสาย และฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ ด้วย. ที่อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า "​รู้ลมธรรมชาติ ไม่บังคับลม"​ แต่ในบรรพะนี้กล่าวว่า "​ฝึกอยู่ว่า (สิกฺขติ)"​ ทั้ง 2 คำมีความหมายเดียวกัน เพราะลมธรรมชาติ คือ ลมที่เบาลงๆ (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) ซึ่งเป็นอารมณ์ของ ปชานาติ,​ ส่วนการฝึกนั้น คือ "​ปชานาติ"​ที่พยายามฝึกให้เกิดต่อเนื่องตลอดกองลมเข้า/​ออก และ ปชานาติที่พยายามฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ (ลมธรรมชาติ). อีกอย่างหนึ่ง ที่อาจารย์ทั้งหลายไม่ให้บังคับลมก็เพราะผู้ปฏิบัติใหม่บางท่านพยายามจะหายใจให้กระทบชัดๆ การทำเช่นนี้เป็นการดูธาตุ ไม่ใช่การดูลมหายใจบัญญัติ ซึ่งจะทำให้ฟุ้งซ่าน เพราะธาตุเป็นกามธรรมที่พัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตไม่ได้ จึงเป็นปฏิปักข์ต่อสมาธิ แต่ลมหายใจเป็นบัญญัติที่สามารถพัฒนาเป็นปฏิภาคนิมิตได้,​ นอกจากนี้ การบังคับลมจะทำให้เครียด ซึ่งเป็นปฏิปักข์ต่อโพชฌงค์และองค์ฌาน คือ ปัสสัทธิ-สมาธิ-อุเปกขา-ปีติ-สุข ดังนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงแนะนำไม่ให้บังคับลม. แต่การไม่บังคับลมนั้น ก็ต้องฝึกรู้ลมตลอดสาย และฝึกรู้ลมที่เบาลงๆ ด้วย.
บรรทัด 97: บรรทัด 97:
  
 กาเย ในบรรพะนี้โยคเข้ากับ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ > นิสีทติ อุชุํ (กรช)กายํ ปณิธาย > อสฺสสามิ,​ ส่วน กาย ใน กายานุปสฺสี โยคเข้ากับ ทีฆํ/​รสฺสํ กายสงฺขารํ,​ ส่วน กายสฺมึ โยค กายสงฺขารํ ใน กายานุปสฺสี อีกทีหนึ่ง. ส่วน อตฺถิ กาโยติ นี้ เข้ากับ กายสฺมึ อีกทีหนึ่ง เช่นกัน. ทั้งหมดดูได้จากความต่างของวิภัติ และความต่างของ วา/จ ศัพท์. กาเย ในบรรพะนี้โยคเข้ากับ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ > นิสีทติ อุชุํ (กรช)กายํ ปณิธาย > อสฺสสามิ,​ ส่วน กาย ใน กายานุปสฺสี โยคเข้ากับ ทีฆํ/​รสฺสํ กายสงฺขารํ,​ ส่วน กายสฺมึ โยค กายสงฺขารํ ใน กายานุปสฺสี อีกทีหนึ่ง. ส่วน อตฺถิ กาโยติ นี้ เข้ากับ กายสฺมึ อีกทีหนึ่ง เช่นกัน. ทั้งหมดดูได้จากความต่างของวิภัติ และความต่างของ วา/จ ศัพท์.
 +
 +----
 +ที่ว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น (อิติ) แยกกายสังขารคือลมหายใจ (กาเย) ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง (อชฺฌตฺตํ วา ​ กายานุปสฺสี วิหรติ)"​ เพราะ อิติ โยค ปฐมจตุกฺก ของอานาปานบรรพะ กาย ศัพท์ ก็ต้องโยค "​ลมหายใจ"​ เช่นกัน. ส่วนที่กล่าวเฉพาะอิริยาบถนั่ง เพราะตามหลักปุพฺพาปรสนฺธิด้วยอำนาจสีหวิกฺกีฬิตนัยนั้น เมื่อตอนต้นบรรพะ กล่าวว่า "​นิทฺสีทติ"​ และบรรพะถัดไปเป็นอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะ ที่ตรงกับคำขยายของ "​วิหรติ"​ ในปฏิสัมภิทามรรค,​ วิภังค์,​ และอรรถกถาของสูตรนี้,​ รวมถึงตรงกับกายคตาสติสูตรส่วนที่ต่อจาก อิติ ของทุกบรรพะ และที่มูลบาลี,​อรรถกถา,​[https://​sutta.men/?​th.r.129.105.0.0.วสีภูโต#​hl ฏีกา]ขยายการทำกายคตาสติ 14 ให้ถึงอัปปนาฌานที่เป็นวสีไว้ด้วย. ​
 +
 +ที่ว่า "​ภิกษุนั่งตามอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง (สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ)"​ ฏีกาขยาย สมุทยธมฺมานุปสฺสี ไว้ 2 นัย ซึ่งสมควรทั้งคู่ โดยนัยที่แปลว่า "​ผู้ตามเห็นเหตุเกิด"​ นี้กล่าวตามหลักปุพฺพาปรสนฺธิโดยสีหวิกฺกีฬิตนัย คือ เพราะได้กล่าวสมถะจนถึงวิชชา 8 ไว้ในกายคตาสติสูตรแล้ว นำ วิชชาที่ 1 และ 8 ในสูตรนั้น ซึ่งขยายไว้ในสีลักขันธวรรค มีสามัญญผลสูตรเป็นต้น แล้วมาอธิบายให้ละเอียดด้วยอำนาจขยญาณพลววิปัสสนาเป็นต้นไปไว้ในสูตรนี้. ​
 +
 +กาเย ในอุทเทส องค์ธรรม คือ กรชกาย เป็นต้น (ดูอรรถกถา),​ กาย ในกายานุปสฺสี อุทเทส องค์ธรรม คือ กาย ที่ถูกทำฆนวินิพฺโภคะ ละเอียดลงๆ จนถึง ขณะปัจจุบัน (ดู ปฏิ.สติปฏฺฐานกถา,​ วิภังค. สติปัฏฐานวิภังค์,​ อรรถกถาสูตรนี้,​ ปฏิ.อ. สัมมสนญาณนิทฺเทส และ อุทยัพพยญาณนิทเทส [บาลีเท่านั้น] รวมถึง วิสุทฺธิ.มหาฏี. อุทยัพพยญาณกถาวณฺณนา ด้วย.),​ ส่วน กาเย และ กายานุปสฺสี ในนิทเทส 14 บรรพะ ก็คือส่วนขยายของอุทเทสนั่นเอง. อรรถกถาอุทเทสตรงที่ขยายไว้โดยใช้ศัพท์ที่ปรากฎในสูตรนี้ นั่นคือ ปุพฺพาปรสนฺธิ สีหวิกฺกีฬิตนัย. ส่วนขยายอื่นๆ ก็นัยอื่นๆ (เป็นสภาคะ ฆฏนา กัน, ไม่ได้ขัดแย้งกัน). กายสฺมึ องค์ธรรมคือ ส่วนที่แยก ฆนวินิพฺโภค จาก กาเย ของบรรพะแล้ว นำมาเห็นเหตุเกิดเหตุดับต่อ เช่น ล่มหายใจ ใน ขุ.ปฏิ. [https://​sutta.men/?​th.n.45.170.. อานาปานกถา] ปฐมจตุกฺก ก็อธิบายในทำนองให้แยกออกเป็นสภาวะ ซึ่งก็ตรงกับจตุกฺกวิมุตฺต ใน วิสุทฺธิ. อานาปานกถา ที่แสดงการแยกนามรูปและการกำหนดไตรลักษณ์ไว้ ก่อนจะแสดงจตุกฺกที่ 2-4. 
 +
 +"​ส่วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า '​มีกายสังขารคือลมหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)'​ ก็เพียงเพื่อให้ปัญญา(ปชานาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านั้น เพียงเพื่ออบรมสติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น (อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย)"​ คือ เมื่อตามแยกสภาวะจนเหลือแต่ปรมัตถธรรมที่เกิดได้จริง โดยปัจจัย 4 โดยขณปัจจุบัน 1 ในแต่ละขันธ์ จนทำลายฆนสัญญาได้แล้ว ด้วยบทว่า "​สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา"​ เป็นต้น ก็จะเห็นเป็นเพียงสภาวะไม่มีสัตว์บุคคลที่บังคับบัญชาได้. เมื่อเห็นขณปัจจุบัน ก็เห็นคาหะ 3 ในอุปักกิเลส 10 ได้ จึงละคาหะ 3 นั้นในวิปัสสนาจารจิตที่เพิ่งดับไปได้ ปชานาติ ก็จะกลายเป็น ญาณํ. ​ คาหะ 3 ในสูตรนี้ ทรงตรัสขยายให้ละเอียดไว้ด้วยอำนาจอุปาทานและสมุทยสัจในสัจจบรรพะแล้ว แต่ในที่นี้ยังแสดงไว้โดยย่อ จึงตรัสว่า '​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มีอุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. (อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ)'​ฯ
  
 ===อิริยาปถบรรพ=== ===อิริยาปถบรรพ===
บรรทัด 120: บรรทัด 129:
  
 ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน=== ===คำอธิบายผู้ปรับสำนวน===
 +สำหรับท่านที่อ่านอรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตรอย่างเดียว ไม่ได้ท่องจำในระบบมุขปาฐะ อาจสงสัยในคำแปลตรงนี้ว่าทำไมจึงต่างจากอรรถกถา ข้อนั้นมีอธิบายดังนี้.-
 +
 ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น. ในกายคตาสติสูตร แสดงอิริยาบถบรรพะเป็นการฝึกฌานวสี ต่อจากบรรพะอื่นๆ มีอานาปานบรรพะและปฏิกูลมนสิการบรรพะ เป็นต้น เพราะแสดงแก่ผู้เพิ่งสนใจกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงไม่มีพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่าวข้างต้น แยกกายสังขารคือลมหายใจ ในกองกรัชกายคืออิริยาบถนั่งของตนเองอยู่บ้าง ... ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ เป็นต้น. แต่ในมหาสติปัฏฐานสูตร อรรถกถาท่านแสดงอิริยาบถบรรพะเป็นวิปัสสนา เพราะสูตรนี้ทรงแสดงแก่ผู้ทำภาวนามาก่อนแล้ว จึงให้ทำพลววิปัสสนาทั้งในอารมณ์กรรมฐานและในนามรูปที่ทำกรรมฐานในอารมณ์อยู่ ด้วยพยัญชนะว่า "​ภิกษุตามอนุปัสสนาเหตุเกิดในกายสังขารคือลมหายใจดังกล่าวข้างต้นอยู่บ้าง"​ และบทว่า "​ภิกษุไม่ใช้อิริยาบถ 4 ฐานะ 7 อาศัยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว"​ เป็นต้น.
  
-ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง.+ในที่นี้แปลไว้กลางๆ ใช้ได้กับทั้ง 2 สูตร เพราะครึ่งแรกของอิริยาบถและสัมปชัญญะบรรพะ ปฏิบัติแบบเดียวกันทั้ง 2 สูตรจึงใช้ร่วมกันได้ ต่างกันที่ครึ่งหลัง ตามประเภทอินทรีย์อ่อนและกล้าของผู้ฟัง. ฉะนั้น ผมจึงต้องแปลอย่างนั้น ไม่สามารถแปลแต่เพียงว่า "​อิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ คือการทำวิปัสสนาในอิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะ"​ เพราะต้องแปลให้สอดคล้องกับพระสูตรอื่นๆ อรรถกถาอื่นๆ ด้วย โดยอาศัยวิธีการในระบบมุขปาฐะ มีเตติปกรณ์เป็นต้น ในที่อื่นๆ ก็นัยเดียวกันนี้.
  
 อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง. อรรถกถามหาสติปัฏฐานสูตร แสดงอิริยาบถเป็นธาตุไว้ อาศัยบทในสูตรว่า "​ปรํ",​ "​ยถา ยถา วา กาโย ปณิหิโต",​ และ "​ยถา ฐิตํ ยถา ปณิหิตํ"​ โดย ในอรรถกถา ขยายโดยใช้บทว่า "​ฐิตํ"​ ร่วมด้วย. ฉะนั้น บรรพะที่ขยายอิริยาบถบรรพะ ก็คือ ธาตุบรรพะ (จตุธาตุววัตถาน) นั่นเอง.
บรรทัด 128: บรรทัด 139:
 ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด. ฏี-ปณิหิโตติ ยถา ยถา '''​ปจฺจเยหิ'''​ ปกาเรหิ นิหิโต ฐปิโตฯ ในที่อื่นที่แสดงสภาวะธรรมอยู่ก็เช่นกัน ให้แปลคำว่า "​อาการ"​ เป็นปัจจัยปัจจยุปบัน หรือ ปฏิจจสมุปปาทปฏิจจสมุปปันนะ ทั้งหมด.
  
-=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=+
 ===สัมปชัญญบรรพ=== ===สัมปชัญญบรรพ===
  
-[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึวใร  ​ก้าว ในารอย ​แล ในการเหลียว ​ในการคู้เข้า ในการเหยียดออกในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ในการัน ​ดื่ม ​การเคี้ยว ​การลิ้ม ​ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึว ใเดิน ​การยืน ​การนั่งการหลับ ​การตื่น ​การพูด ​การนิ่ง ดังพรรณนฉะนี้ ภิษุอมพิจารณาเ็นกายในกายภานบ้าง ​รณเห็นกายในกายภายนอบ้าง ​รณาเห็นกายในกายายในทั้งายนอบ้าง ​รณาเห็นรมคือควาเกิดข้นในายบ้างรณาเห็นธรคือควาเสือมในายบ้าง ​รณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้ควมเสอมใกายบ้าง ​ย่อยู่ ​อีกอย่างหนึง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมอยู่ ก็เพียงสักว่าควมรู้ เพียงสักวอาศัยะลึกเท่านั้น ​เธเป็ผู้อัตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือั่นะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แลภิกษุชื่อว่าพิจรณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ+[276]   ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ​ 
 +#ภิกษุย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะก้าว ในขณะถอย  
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะแล ในขณะเหลียว ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะคู้เข้า ในขณะเหยียดออก 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะกิน ขณะดื่ม ​ขณะเคี้ยว ​ขณะลิ้ม ​ 
 +#​ย่อมรู้(อารมณ์กรรมฐาน)ชัดเจนอย่างชำนาญในขณะถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ​ 
 +#ย่อมรู้(อารมณ์รรมฐาน)ชดเจอย่งชำนาญในขณะเดิน ​ขณะยืน ​ขณะนั่งขณะหลับ ​ขณะตื่น ​ขณะพูด ​ขณะนิ่ง ​ 
 + 
 +#​ภิกษุตามอนุปัสสนาดังกล่วข้งตน แยกาสังขารคืยใจ (็นต้น) ​ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของตเองอยู่บ้าง 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนดังกล่าวข้างต้น แยกายสังขารคือลมหายใจ (เป็ต้น) ในกองกรัชกายคืออิริาบถ 4 ของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอุปัสสนาดังล่วข้างต้น แยกกายังขารคือลมหายใจ (เป็น) ในกอกรัชกายคืออิริยาบถ 4 ทั้งของตงและของคนอื่นอยู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดในกายสังขารคือหายใจังกล่าว้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุดับในกายสังขารคือหายใจดังกลาวข้างต้นในอิริยบถ 4 อู่บ้าง ​ 
 +#ภกษุตมอนุปัสสนาเห็นเหตุเกิดและเหตุดับใกายสังรคือหายจดังล่วข้างต้นในิริยาบถ 4 อยู่บ้าง ​ 
 + 
 +วนสติของภิกษุนั้นที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ​"​มีกายสังขารคือลหายใจ(เป็นต้น)อยู่(ไม่มีสัตว์บุคคลใดๆ ในกรัชกายนี้)" ​ก็เพียงเพือให้ปัญญ(ปชนาติ)พัฒนาเป็นญาณเท่านัน เพียงเพื่ออบรมติให้ตั้งมั่นในอารมณ์เท่านั้น ​ภิกษุไม่ใช้ิริยาบถ 4 ฐาะ 7 าศยอยู่กับตัณหาและทิฐิแล้ว และไม่มุปาทาน 4 ยึดติดโลกใดๆ ในโลกคือปิยรูปสาตรูป 60 ทั้งสิ้น. ​ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า ​"ตมอุปัสสนา 7 แยกกายในกองกรัชกายออกเป็นส่วนๆ ดำรงอยู่อย่างนี้ในอิริยาบถ 4 ฐานะ 7"
  
 '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​ '''​จบสัมปชัญญบรรพ'''​
  
 +====คำอธิบายผู้ปรับสำนวน====
 +
 +
 +=แต่นี้ไปยังไม่ได้ปรับสำนวน=
 ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ=== ===ปฏิกูลมนสิการบรรพ===