ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร

ความแตกต่าง

นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2022/07/02 21:59]
dhamma [อนุสัย]
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2023/07/17 06:55] (ฉบับปัจจุบัน)
dhamma [คิดนึกเป็นวิปัสสนาหรือไม่]
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
 '''​ต่อไปจะเป็นคำอธิบายสนธิอนุสนธิของขุ.ปฏิ.ญาณกถา '''​ต่อไปจะเป็นคำอธิบายสนธิอนุสนธิของขุ.ปฏิ.ญาณกถา
 '''​ '''​
-ในธัมมัฏฐิติญาณอุทเทสแสดงการแยกปัจจัยเพื่อเอาสภาวธรรมเป็นอารมณ์(ที่นี้ ปริคฺคห>​กายารมฺมณํ ปริจฺฉิชฺช คเหตฺวา อารมฺมณํ กโรติ) แล้วใน[[sutta>​th.r.45.49.0.2.ปุริมกมฺมภวสฺ,​ปฏิสนฺธิ|นิทเทส]]อธิบายว่าเป็นการแยกปัจจัยออกเป็นอัทธากาล 3 ซึ่งรวมถึงคำว่า "​ปุริมกมฺมภวสฺมิํ อิธ ปฏิสนฺธิยา ปจฺจยา"​ และ "​อิธ ปฏิสนฺธิ วิญฺญาณํ"​ ซึ่งในอรรถกถาอธิบายสรุปว่า เห็นกรรมและกิเลสของตนที่ีกระทำอยู่ในอดีตชาติ ซึ่งตรงกับการปฏิบัติบุพเพนิวาสานุสสติญาณในปฐมยามของพระโพธิสัตว์ และตรงกับการเรียงไว้ในลำดับแรกของวิปัสสนาญาณวิชชาของวิชชา 8 ใน ที.สี.สุภสูตร. ​+ในธัมมัฏฐิติญาณอุทเทสแสดงการแยกปัจจัยเพื่อเอาสภาวธรรมเป็นอารมณ์(ที่นี้ ปริคฺคห>​กายารมฺมณํ ปริจฺฉิชฺช คเหตฺวา อารมฺมณํ กโรติ) แล้วใน[[sutta>​th.r.45.49.0.2.ปุริมกมฺมภวสฺ,​ปฏิสนฺธิ|นิทเทส]]อธิบายว่าเป็นการแยกปัจจัยออกเป็นอัทธากาล 3 ซึ่งรวมถึงคำว่า "​ปุริมกมฺมภวสฺมิํ อิธ ปฏิสนฺธิยา ปจฺจยา"​ และ "​อิธ ปฏิสนฺธิ วิญฺญาณํ"​ ซึ่งในอรรถกถาอธิบายสรุปว่า เห็นกรรมและกิเลสของตนที่ีกระทำอยู่ในอดีตชาติ ซึ่งตรงกับการปฏิบัติบุพเพนิวาสานุสสติญาณในปฐมยามของพระโพธิสัตว์ และตรงกับการเรียงไว้ในลำดับแรกของวิปัสสนาญาณวิชชาของวิชชา 8 ใน ที.สี.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]
  
 เพราะในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาสอนแยกนามรูปแบบอัทธากาล 3 ดังอธิบายข้างต้นแล้ว มาติกาข้อถัดไปจึงสอนวิธีเอาปัจจุบันอัทธากาล 3 มาแยกจนเป็นสันตติกาล 3 สมยกาล 3 และขณะกาล 3 อรรถกถาสัมมสนญาณมาติกาจึงแสดงว่า "​อทฺธาสนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ [[sutta>​สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ(th.r.104.12.0.43)]] อิธาธิปฺเปตํฯ"​ ในคำว่า สนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ คือ แยกอัทธาเป็นสันตติ แล้วแยกสันตติเป็นขณะ,​ ส่วนคำว่า สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ อิธาธิปฺเปตํ คือ ในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาแยกอัทธากาล 3 แล้ว ในสัมมสนญาณมาติกาจึงมาเอาปัจจุบันอัทธากาลนั้นมาแยกจนเป็นสันตติกาล เพื่อที่จะตามเห็นนามรูปขณะเกิดดับแบบปรมัตถ์ว่า "​เอตฺถ จ [[sutta>​ขณาทิกถาว(th.r.104.227.0.7)]] นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ"​. เพราะในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาสอนแยกนามรูปแบบอัทธากาล 3 ดังอธิบายข้างต้นแล้ว มาติกาข้อถัดไปจึงสอนวิธีเอาปัจจุบันอัทธากาล 3 มาแยกจนเป็นสันตติกาล 3 สมยกาล 3 และขณะกาล 3 อรรถกถาสัมมสนญาณมาติกาจึงแสดงว่า "​อทฺธาสนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ [[sutta>​สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ(th.r.104.12.0.43)]] อิธาธิปฺเปตํฯ"​ ในคำว่า สนฺตติขณปจฺจุปฺปนฺเนสุ คือ แยกอัทธาเป็นสันตติ แล้วแยกสันตติเป็นขณะ,​ ส่วนคำว่า สนฺตติปจฺจุปฺปนฺนํ อิธาธิปฺเปตํ คือ ในธัมมัฏฐิติญาณมาติกาแยกอัทธากาล 3 แล้ว ในสัมมสนญาณมาติกาจึงมาเอาปัจจุบันอัทธากาลนั้นมาแยกจนเป็นสันตติกาล เพื่อที่จะตามเห็นนามรูปขณะเกิดดับแบบปรมัตถ์ว่า "​เอตฺถ จ [[sutta>​ขณาทิกถาว(th.r.104.227.0.7)]] นิปฺปริยายา เสสา สปริยายาฯ"​.
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
  
 อธิกรเช่นนี้เป็นของหนัก เป็นอันตรายต่อผู้กล่าว และเป็นเหตุเสื่อมแห่งศาสนาที่ร้ายแรง จงอย่าประมาทในการเปล่งวาจาแม้เล็กน้อยเถิด เพราะจิตเป็นของไปไว ทำให้ปากไวปากพล่อยไปด้วย อันตรายเกินจะเปรียบได้. ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวให้หนักขนาดนี้เลย ถ้าเรื่องเหล่านี้ไม่ร้ายแรงและเป็นอันตรายจริงๆ. อธิกรเช่นนี้เป็นของหนัก เป็นอันตรายต่อผู้กล่าว และเป็นเหตุเสื่อมแห่งศาสนาที่ร้ายแรง จงอย่าประมาทในการเปล่งวาจาแม้เล็กน้อยเถิด เพราะจิตเป็นของไปไว ทำให้ปากไวปากพล่อยไปด้วย อันตรายเกินจะเปรียบได้. ข้าพเจ้าจะไม่กล่าวให้หนักขนาดนี้เลย ถ้าเรื่องเหล่านี้ไม่ร้ายแรงและเป็นอันตรายจริงๆ.
 +==แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา== 
 +https://​docs.google.com/​document/​d/​1J7kSECk0kJMV6jLJIO1vYQXSXfrfDTlmqvoiD13fkks/​edit 
 +==ทำไมยังมีผู้ได้ฌาน (รวมหลักฐานอายุพระศาสนา)== 
 +ดู https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/​edit#​
 ==อนุสัย== ==อนุสัย==
 ดู https://​docs.google.com/​document/​d/​1x1PBkVOHwgbuxl0oDSZl-Z3SbBBOqIIJOQ51uU4XCoE/​edit ดู https://​docs.google.com/​document/​d/​1x1PBkVOHwgbuxl0oDSZl-Z3SbBBOqIIJOQ51uU4XCoE/​edit
 ==สติปัฏฐาน== ==สติปัฏฐาน==
 +ดู [[มหาสติปัฏฐานสูตร_ฉบับปรับสำนวน]] และ [[https://​docs.google.com/​document/​d/​1J7kSECk0kJMV6jLJIO1vYQXSXfrfDTlmqvoiD13fkks/​edit|แบบทดสอบความตั้งมั่นปริยัติศาสนา]]
 =บาลี= =บาลี=
-==ไม่เข้าใจสนธิอนุสนธิและปฏิบัติไม่ได้สภาวะ ต่อให้ทรงจำหลายสูตรได้ก็ไม่สามารถแตกฉานได้==+==ไม่เข้าใจสนธิอนุสนธิและปฏิบัติไม่ได้สภาวะ ต่อให้ทรงจำหลายสูตรได้ ก็ไม่สามารถแตกฉานได้==
 ==จิตกับวิญญาณต่างกันในบริบทปัญญัตติหาระเหมือนกันในบริบทเววจนหาระ== ==จิตกับวิญญาณต่างกันในบริบทปัญญัตติหาระเหมือนกันในบริบทเววจนหาระ==
 +ดู [[http://​dhammacomment.blogspot.com/​2020/​03/​blog-post_5.html]] (อาจมีบทความช่วงที่ข้าพเจ้าเป็นมิจฉาทิฏฐิปนอยู่บ้าง อ่านด้วยความระมัดระวัง)
 =อาจารย์= =อาจารย์=
 ==เมตตาวจีกรรม เจโตปริยญาณ องค์ของอุปัชฌาย์ องค์ของผู้โจทก์== ==เมตตาวจีกรรม เจโตปริยญาณ องค์ของอุปัชฌาย์ องค์ของผู้โจทก์==
บรรทัด 63: บรรทัด 68:
 ==กาลามสูตรที่ถูกปฏิบัติแล้วได้เมตตาฌานแบบสีมสัมเภทะ== ==กาลามสูตรที่ถูกปฏิบัติแล้วได้เมตตาฌานแบบสีมสัมเภทะ==
 ==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร== ==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร==
-[[ดูข้อวิปปฏิสาร]]+ดูข้อ[[#วิปปฏิสาร]]
 =ลูกศิษย์= =ลูกศิษย์=
 ==สังวรวาจา== ==สังวรวาจา==
-[[ดูข้อวิปฏิสาร]] +ดูข้อ[[#วิปฏิสาร]] 
-==องค์ของผู้โจทก์==+==องค์ของผู้โจทก์คือสิ่งที่ต้องมาคู่กับ อญฺญมญฺญวจเนน อญฺญมญฺญวุฏฺฐาปเนน เสมอ== 
 +บาลีเป็นสภาคะฆฏนาตามปัฏฐาน ถ้าเข้าใจถูกจะปรากฎเป็นก้อนสภาคะฆฏนา เช่น องค์ของผู้โจทก์ ถ้าผิดข้อหนึ่ง มักจะพบว่า จะผิดข้ออื่นๆ อีกหลายสิบข้อเต็มไปหมดด้วย และลามไปถึงมิจฉาวาจาในจูฬศีล และกถาวัตถุสูตรด้วย. 
 + 
 +ฉะนั้น การสังวรวาจาด้วยอัปปนาฌาน และการกราบขอขมาบ่อยๆ จึงจำเป็นมากๆ ในการรักษาชีวิตสมณะ.
 ==สมาธิ== ==สมาธิ==
 ===อาโลกะ โอภาส แสงภาวนา นิมิต คืออะไร?​=== ===อาโลกะ โอภาส แสงภาวนา นิมิต คืออะไร?​===
- 
- 
  
 ตํตํภูตนิมิตฺตํ ภาวนาวิเสสญฺจ อุปาทาย ​ กสิณนิมิตฺตาทิกา เจติ([[sutta>​th.r.147.57]]) ตํตํภูตนิมิตฺตํ ภาวนาวิเสสญฺจ อุปาทาย ​ กสิณนิมิตฺตาทิกา เจติ([[sutta>​th.r.147.57]])
บรรทัด 79: บรรทัด 85:
 จิตในภพ 3 มีบัญญัติและปรมัตถ์เป็นอารมณ์สลับกันอย่างรวดเร็ว จิตที่มีกำลังน้อยที่สุดเจตสิกน้อยสุดอารมณ์ละเอียดกระจัดกระจายสุด คือ กามจิตภวังค์และกามจิตที่เกิดทางทวาร 6 แต่เกิดง่ายเพราะมีกรรมเป็นปัจจัยหลายอย่าง ทั้งอนันตรปัจจัย วัตถุปุเรชาตินทริยปัจจัย และกัมมปัจจัย ทำให้แม้มีปัจจัยน้อยแต่เกิดง่าย,​ จิตที่มีกำลังมากกว่าเจตสิกมากกว่า คือ ตทนุวัตติกมโนทวารที่มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์ แต่เกิดยากกว่าเพราะหทยวัตถุไม่เป็นอินทริยปัจจัย เป็นความจริงว่าต่อให้ไม่อยากนอนก็ต้องนอน ไม่อยากเจ็บก็ต้องเจ็บ,​ จิตที่มีกำลังมากกว่าอีก คือ ตทนุวัตติกมโนทวารที่มีบัญญัติเป็นอารมณ์ แต่เกิดยากกว่า เพราะต้องประมวลอารมณ์มากกว่าจะมีบัญญัติปรากฎ เป็นความจริงว่า แม้ได้ฌานซึ่งมีบัญญัติเป็นอารมณ์ก็เสื่อมได้ถ้าเจ็บทางปัญจทวารมากๆ และถ้ายังเห็นเป็นสีปรมัตถ์อยู่ก็ไม่อาจเข้าฌานที่มีปฏิภาคนิมิตเป็นอารมณ์ได้,​ จิตที่มีกำลังมากกว่า คือสุทธมโนทวารที่มีกามปรมัตถ์เป็นอารมณ์ แต่จิตที่มีกำลังมากที่สุดของกามบุคคลผู้ไม่ได้อรูปฌาน คือ จิตที่มีบัญญัติเป็นอารมณ์ เพราะประมวลได้ยาก เช่น ปุถุชนทั่วไปจำเสียงปริตตารมณ์ปรมัตถ์ได้แต่จำหน้าคนสมูหบัญญัตไม่ได้ หรือ จำหน้าสีปริตตารมณ์ปรมัตถ์และอัตถบัญญัติได้แต่จำชื่อนามบัญญัติไม่ได้ หรือ กัลยาณปุถุชนจำกลิ่นปริตตารมณ์ปรมัตถ์ได้แต่จำศพอุคคหนิมิตอัตถบัญญัติไม่ได้ หรือ จำศพอุคหนิมิตอัตถบัญญัติได้แต่บังคับให้เป็นปฏิภาคนิมิตอัตถบัญญัตไม่ได้ ([[sutta>​ตํตํภูตนิมิตฺตํ ภาวนาวิเสสญฺจ อุปาทาย กสิณนิมิตฺตาทิกา(th.r.147.57.0.1)]]) เป็นต้น. จิตในภพ 3 มีบัญญัติและปรมัตถ์เป็นอารมณ์สลับกันอย่างรวดเร็ว จิตที่มีกำลังน้อยที่สุดเจตสิกน้อยสุดอารมณ์ละเอียดกระจัดกระจายสุด คือ กามจิตภวังค์และกามจิตที่เกิดทางทวาร 6 แต่เกิดง่ายเพราะมีกรรมเป็นปัจจัยหลายอย่าง ทั้งอนันตรปัจจัย วัตถุปุเรชาตินทริยปัจจัย และกัมมปัจจัย ทำให้แม้มีปัจจัยน้อยแต่เกิดง่าย,​ จิตที่มีกำลังมากกว่าเจตสิกมากกว่า คือ ตทนุวัตติกมโนทวารที่มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์ แต่เกิดยากกว่าเพราะหทยวัตถุไม่เป็นอินทริยปัจจัย เป็นความจริงว่าต่อให้ไม่อยากนอนก็ต้องนอน ไม่อยากเจ็บก็ต้องเจ็บ,​ จิตที่มีกำลังมากกว่าอีก คือ ตทนุวัตติกมโนทวารที่มีบัญญัติเป็นอารมณ์ แต่เกิดยากกว่า เพราะต้องประมวลอารมณ์มากกว่าจะมีบัญญัติปรากฎ เป็นความจริงว่า แม้ได้ฌานซึ่งมีบัญญัติเป็นอารมณ์ก็เสื่อมได้ถ้าเจ็บทางปัญจทวารมากๆ และถ้ายังเห็นเป็นสีปรมัตถ์อยู่ก็ไม่อาจเข้าฌานที่มีปฏิภาคนิมิตเป็นอารมณ์ได้,​ จิตที่มีกำลังมากกว่า คือสุทธมโนทวารที่มีกามปรมัตถ์เป็นอารมณ์ แต่จิตที่มีกำลังมากที่สุดของกามบุคคลผู้ไม่ได้อรูปฌาน คือ จิตที่มีบัญญัติเป็นอารมณ์ เพราะประมวลได้ยาก เช่น ปุถุชนทั่วไปจำเสียงปริตตารมณ์ปรมัตถ์ได้แต่จำหน้าคนสมูหบัญญัตไม่ได้ หรือ จำหน้าสีปริตตารมณ์ปรมัตถ์และอัตถบัญญัติได้แต่จำชื่อนามบัญญัติไม่ได้ หรือ กัลยาณปุถุชนจำกลิ่นปริตตารมณ์ปรมัตถ์ได้แต่จำศพอุคคหนิมิตอัตถบัญญัติไม่ได้ หรือ จำศพอุคหนิมิตอัตถบัญญัติได้แต่บังคับให้เป็นปฏิภาคนิมิตอัตถบัญญัตไม่ได้ ([[sutta>​ตํตํภูตนิมิตฺตํ ภาวนาวิเสสญฺจ อุปาทาย กสิณนิมิตฺตาทิกา(th.r.147.57.0.1)]]) เป็นต้น.
  
-ในบัญญัติเหล่านั้น บัญญัตที่เป็นอารมณ์ของอกุศลในที.สุภสูตร เรียกว่า นิมิตและอนุพยัญชนะ ส่วนบัญญัติของกุศลที่มาแทนที่นิมิตและอนุพยัญชนะ เรียกว่า อาโลกสัญญาที่ละถีนมิทธนิวรณ์. ในอรรถกถาและฏีกาเรียกว่า อาโลกสัญญา อาโลกกสิณ ปริกัมมโอภาส(ของวิชชา 8) และวิปัสสโนภาส คือ แสงสว่างที่มีญาณ(ปัญญาที่ชำนาญ)เป็นสมุฏฐานนั่นแหละ- สโหภาสนฺติ สญาโณภาสํฯ ถินมิทฺธวิโนทนอาโลโกปิ วา โหตุ กสิณาโลโกปิ วา ปริกมฺมาโลโกปิ วา, [[sutta>​อุปกฺกิเลสาโลโก วิย สพฺโพยํ อาโลโก ญาณสมุฏฺฐาโนว(th.r.137.177)]]าติฯ ที่เรียกต่างเพื่ออธิบายความแตกต่างสภาวะได้ละเอียดขึ้นโดยไม่ทำบริบทให้สับสนง่ายเมื่อทรงจำแบบมุขปาฐะ ไม่ใช่การอวดปัญญา. นัยก็ดังเช่นที่นักไวยากรณ์อธิบายจิตและวิญญาณใน[[http://​www.dhammajak.net/​forums/​viewtopic.php?​t=48163|อนัตตลักขณสูตร]]และอาทิตตปริยายสูตรว่าไม่เหมือนกันนั่นเอง (อ่านต่อในหัวข้อ [[#​จิตกับวิญญาณต่างกันในบริบทปัญญัตติหาระเหมือนกันในบริบทเววจนหาระ]]).+ในบัญญัติเหล่านั้น บัญญัตที่เป็นอารมณ์ของอกุศลในที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] เรียกว่า นิมิตและอนุพยัญชนะ ส่วนบัญญัติของกุศลที่มาแทนที่นิมิตและอนุพยัญชนะ เรียกว่า อาโลกสัญญาที่ละถีนมิทธนิวรณ์. ในอรรถกถาและฏีกาเรียกว่า อาโลกสัญญา อาโลกกสิณ ปริกัมมโอภาส(ของวิชชา 8) และวิปัสสโนภาส คือ แสงสว่างที่มีญาณ(ปัญญาที่ชำนาญ)เป็นสมุฏฐานนั่นแหละ- สโหภาสนฺติ สญาโณภาสํฯ ถินมิทฺธวิโนทนอาโลโกปิ วา โหตุ กสิณาโลโกปิ วา ปริกมฺมาโลโกปิ วา, [[sutta>​อุปกฺกิเลสาโลโก วิย สพฺโพยํ อาโลโก ญาณสมุฏฺฐาโนว(th.r.137.177)]]าติฯ ที่เรียกต่างเพื่ออธิบายความแตกต่างสภาวะได้ละเอียดขึ้นโดยไม่ทำบริบทให้สับสนง่ายเมื่อทรงจำแบบมุขปาฐะ ไม่ใช่การอวดปัญญา. นัยก็ดังเช่นที่นักไวยากรณ์อธิบายจิตและวิญญาณใน[[http://​www.dhammajak.net/​forums/​viewtopic.php?​t=48163|อนัตตลักขณสูตร]]และอาทิตตปริยายสูตรว่าไม่เหมือนกันนั่นเอง (อ่านต่อในหัวข้อ [[#​จิตกับวิญญาณต่างกันในบริบทปัญญัตติหาระเหมือนกันในบริบทเววจนหาระ]]).
  
-สมถะกรรมฐานทุกกองมีอุคคหนิมิตที่มาทดแทนนิมิตและอนุพยัญชนะ (กามคุณ 5) ดังนั้นใน ที.สี.สุภสูตรท่านจึงแสดงอินทริยสังวรไว้ในสมาธิขันธ์ว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี โหติ นานุพฺยญฺชนคฺคาหี(th.r.6.188.0.17)]] กรรมฐานทุกกองแยกสภาวะแล้วถือเอา (ปริคฺคห) โดยสมถะแยกแล้วถือเอาที่แยกเป็นก้อนรวมๆ เพื่อถือเอาบัญญัติที่ไม่ใช่กามคุณ 5 ส่วนวิปัสสนาแยกแล้วถือเอาเป็นสภาวะแต่ละอย่างๆ ที่แม้เป็นกามคุณ 5 แต่มีไตรลักษณ์บัญญัตซึ่งเป็นเหตุแห่งอนิมิตตวิโมกข์ ดังท่านกล่าวไว้ว่า [[sutta>​กายปริคฺคาหิกนฺติ วุตฺเต สมโถ กถิโต โหติ,​ กายารมฺมณนฺติ วุตฺเต วิปสฺสนาฯ(th.r.72.102)]] หมายความว่า กรรมฐานทุกกองมีทั้งบัญญัตและปรมัตถ์เป็นอุคคหนิมิต แต่จิตถือเอากรรมฐานบัญญัต (ปฏิภาคนิมิตหรือกรรมฐานนิมิตนั้นๆ) เมื่อทำสมถะทุกกองจนถึงอุปจารสมาธิ โดยกรรมฐานที่ไม่ถึงอัปปนาทุกกองแม้แต่พุทธานุสสติก็มีกามคุณเป็นอารมณ์ด้วยอำนาจปัจจัยปัจจยุปบันที่ถูกพิจารณาในสมถะกองนั้นๆ เหตุนี้แม้เมื่อจิตของผู้ภาวนาพุทธานุสสติชำนาญจนเห็นอุคคหนิมิตบัญญัติแล้วก็ออกจากกามคุณที่เป็นอารมณ์ไม่ได้ จึงหยุดอยู่แค่อุปจารสมาธิที่มีปริกัมมโอภาสคืออาโลกสัญญาที่เป็นปฏิปักข์ของถีนมิทธะนิวรณ์เป็นอารมณ์สลับกับอารมณ์ภาวนาที่เป็นปรมัตถ์ ส่วนพลวิปัสสนานั้นไม่อาจเป็นอุปจาระได้ เพราะไม่สามารถมีอารมณ์เดียวกับอัปปนาของตนคือนิพพานได้ด้วย ไม่มีอนุสัยเกิดอยู่ให้ข่มด้วย ทั้งยังมีกามคุณเป็นอารมณ์คู่ไปด้วย และกรรมฐานทุกกองมีปริกัมมโอภาสคืออาโลกสัญญาปรากฎเมื่อสามารถข่มนิวรณ์ได้ด้วยขณิกสมาธิหรือตรุณวิปัสสนาสมาธิอย่างใดอย่างหนึ่ง. ​+สมถะกรรมฐานทุกกองมีอุคคหนิมิตที่มาทดแทนนิมิตและอนุพยัญชนะ (กามคุณ 5) ดังนั้นใน ที.สี.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]ท่านจึงแสดงอินทริยสังวรไว้ในสมาธิขันธ์ว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี โหติ นานุพฺยญฺชนคฺคาหี(th.r.6.188.0.17)]] กรรมฐานทุกกองแยกสภาวะแล้วถือเอา (ปริคฺคห) โดยสมถะแยกแล้วถือเอาที่แยกเป็นก้อนรวมๆ เพื่อถือเอาบัญญัติที่ไม่ใช่กามคุณ 5 ส่วนวิปัสสนาแยกแล้วถือเอาเป็นสภาวะแต่ละอย่างๆ ที่แม้เป็นกามคุณ 5 แต่มีไตรลักษณ์บัญญัตซึ่งเป็นเหตุแห่งอนิมิตตวิโมกข์ ดังท่านกล่าวไว้ว่า [[sutta>​กายปริคฺคาหิกนฺติ วุตฺเต สมโถ กถิโต โหติ,​ กายารมฺมณนฺติ วุตฺเต วิปสฺสนาฯ(th.r.72.102)]] หมายความว่า กรรมฐานทุกกองมีทั้งบัญญัตและปรมัตถ์เป็นอุคคหนิมิต แต่จิตถือเอากรรมฐานบัญญัต (ปฏิภาคนิมิตหรือกรรมฐานนิมิตนั้นๆ) เมื่อทำสมถะทุกกองจนถึงอุปจารสมาธิ โดยกรรมฐานที่ไม่ถึงอัปปนาทุกกองแม้แต่พุทธานุสสติก็มีกามคุณเป็นอารมณ์ด้วยอำนาจปัจจัยปัจจยุปบันที่ถูกพิจารณาในสมถะกองนั้นๆ เหตุนี้แม้เมื่อจิตของผู้ภาวนาพุทธานุสสติชำนาญจนเห็นอุคคหนิมิตบัญญัติแล้วก็ออกจากกามคุณที่เป็นอารมณ์ไม่ได้ จึงหยุดอยู่แค่อุปจารสมาธิที่มีปริกัมมโอภาสคืออาโลกสัญญาที่เป็นปฏิปักข์ของถีนมิทธะนิวรณ์เป็นอารมณ์สลับกับอารมณ์ภาวนาที่เป็นปรมัตถ์ ส่วนพลวิปัสสนานั้นไม่อาจเป็นอุปจาระได้ เพราะไม่สามารถมีอารมณ์เดียวกับอัปปนาของตนคือนิพพานได้ด้วย ไม่มีอนุสัยเกิดอยู่ให้ข่มด้วย ทั้งยังมีกามคุณเป็นอารมณ์คู่ไปด้วย และกรรมฐานทุกกองมีปริกัมมโอภาสคืออาโลกสัญญาปรากฎเมื่อสามารถข่มนิวรณ์ได้ด้วยขณิกสมาธิหรือตรุณวิปัสสนาสมาธิอย่างใดอย่างหนึ่ง. ​
  
 ผู้ปฏิบัติชอบทั้งหลายอธิบายปริกัมมโอภาสว่า จำมาจากสีของจิตตชรูปของจิตที่มีกำลัง สว่างเจิดจ้าแม้ในที่มืด. ผู้ปฏิบัติชอบทั้งหลายอธิบายปริกัมมโอภาสว่า จำมาจากสีของจิตตชรูปของจิตที่มีกำลัง สว่างเจิดจ้าแม้ในที่มืด.
บรรทัด 100: บรรทัด 106:
 ในกรรมฐานทั้งปวงที่เหลือก็โดยทำนองดังกล่าวมาเป็นตัวอย่างพอสังเขปนี้ ให้บัณฑิตววัตถานซึ่งธรรมที่เป็นไปทางทวาร คือ อารมณ์ วัตถุ วิญญาณ ภูมิ และธรรม 9 ในภพ 3 เป็นต้นอย่างนี้ตามแบบที่ท่านแสดงไว้ใน ขุ.ปฏิ.ญาณปัญจกนิทเทส มี[[sutta>​จริยานานตฺตญาณนิทฺเทโส(th.r.45.77.0.4)]]ในท่ามกลาง ก็จะสิ้นสงสัยในพระอริยะเจ้า และหยุดทำอริยุปวาทะได้. ในกรรมฐานทั้งปวงที่เหลือก็โดยทำนองดังกล่าวมาเป็นตัวอย่างพอสังเขปนี้ ให้บัณฑิตววัตถานซึ่งธรรมที่เป็นไปทางทวาร คือ อารมณ์ วัตถุ วิญญาณ ภูมิ และธรรม 9 ในภพ 3 เป็นต้นอย่างนี้ตามแบบที่ท่านแสดงไว้ใน ขุ.ปฏิ.ญาณปัญจกนิทเทส มี[[sutta>​จริยานานตฺตญาณนิทฺเทโส(th.r.45.77.0.4)]]ในท่ามกลาง ก็จะสิ้นสงสัยในพระอริยะเจ้า และหยุดทำอริยุปวาทะได้.
  
-==ถ้าไม่ทรงจำกาลามสูตรทั้งสูตรด้วยสนธิบาลี==+==ถ้าไม่ทรงจำกาลามสูตรทั้งสูตรด้วยสนธิบาลี ​จะใช้สูตรผิดได้== 
 +กาลามสูตรถ้าเข้าใจถูก จะได้เมตตาฌานสีมสัมเภทะ,​ แต่ถ้าตัดออกเหลือแค่ 10 ข้อ บางคนอาจได้วิจิกิจฉา วิปฏิสาร ระแวงกลัวคนอื่นไปหมดได้ เพราะสำคัญผิดเอาความระแวงว่าเป็นปัญญาที่ทำตามกาลามสูตร 10 ข้อ, ทั้งที่จริงๆ แล้ว เป็นอกุศล ตัดสินคนอื่นไปแล้วโดยไม่มีวิชชา 8 ตามจริง แต่จินตนาการคนอื่นไปตามตัวอักษรที่ยึดมั่นไว้ผิดๆ. 
 + 
 +พึงตระหนักว่า กาลามสูตรก็ดี พระสูตรอะไรๆ ก็ดี ถ้าจิตของคนเรียนไม่ดี ก็ทำให้คนเรียนเป็นมิจฉาทิฏฐิไปได้ง่ายๆ เช่นกัน , ฉะนั้น การทำฌานเพื่อกุศลจิตที่มีกำลัง และการมีครูอาจารย์ที่ได้ฌานและทรงจำพระไตรปิฎกบาลี จึงช่วยได้มากกว่าการอ่านพระไตรปิฎกเองเป็นสิบๆ ปี (ประสบการณ์ส่วนตัว). ​
 =ภาวนา= =ภาวนา=
 ==สีล== ==สีล==
 +โอวาท[[sutta>​ปาติโมกฺขํ(th.r.7.42.0.1)]] > สามัญญผลสูตร (ซึ่งถูกตกเลขไว้ในวรรคแรกของโกสลสังยุต) ซึ่งอธิบายโดยพระอานนท์ด้วย ที.สี. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] > ซึ่งต้องแทงตลอดพรหมชาลสูตรก่อน จึงจะบริสุทธิ์ ไม่งั้นจะกลายเป็น ​ ที.ม. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=10&​siri=2|มหานิทานสูตร]] > ซึ่งการละคลายทิฏฐิตามสองสูตรนั้น เริ่มด้วยญาณปัญจกนิทเทส ตามลำดับ ดูลิงก์อธิบายหัวข้อ [[#​ปรมัตถ์]] >  5 ญาณนี้ มาสิ้นสุดที่ [[sutta>​ธมฺมนานตฺตญาณ(th.r.45.82.0.2)]] ซึ่งก็คือ [[sutta>​เจตนากรณียสุตฺตํ(th.r.26.3.0.1)]] > ซึ่งสูตรย่อๆ ของทุกแห่งข้างต้นก็มีลำดับตาม ที.สี. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] ที่ขยายเป็นลำดับสมถะกรรมฐาน ตาม ม.อุ. [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]] และวิปัสสนากรรมฐาน ที.ม.มหาสติปัฏฐานสูตรว่า [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]] นั่นเอง.
 ===วิปปฏิสาร=== ===วิปปฏิสาร===
 +(ตัวอย่าง สนธิอนุสนธิของสูตรติดๆกัน ในสังยุตตนิกาย,​ สนธิอนุสนธิของการให้กรรมฐาน)
 +
 +วจีทุจจริต คือ จิตตุปบาทที่ยึดมั่นผิดบ่อยๆ จากที่เกิดดับจริงๆ ที่ล่วงออกมาทางวาจา
 +
 +วิปปฏิสาร คือ วจีทุจจริตนั่นแหละที่เกิดสลับกับโทสธรรมและโมหะธรรม คือ อุทธัจจะกุกกุจจะ เดือดร้อนใจในวจีสุจจริตที่ไม่ได้ทำไว้ และวจีทุจจริตที่ทำไว้ (สูตรที่ 2 ที่ขยายเป็นสูตรที่ 8 และสูตรอื่นๆ ในวรรค [การให้สูตรกรรมฐานอยู่ที่ว่า ผู้รับกรรมฐานกำลังมนสิการอะไรมาก และรับกรรมฐานอะไรมาก่อน])
 +
 +[[sutta>​ตจสารํ,​วิปฺปฏิปชฺชนฺติ,​อติสารํ(th.r.12.73.5.1)
 +]] โดยให้ท่องจำอย่างน้อยตั้งแต่สูตรที่ 1 ถึง 7 ของวรรคแรกของ ​
 +[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/?​index_mcu15#​SecA_1_2|โกสลสังยุต]]
 +
 +ขนฺธวคฺค,​ปาฬิ 98 ปณฺเณ [[sutta>​วิปฺปฏิสาโร(th.r.14.98)]]
 +
 +ซึ่งจากสูตรทั้งหลายใน[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/?​index_mcu15#​SecA_1_2|โกสลสังยุต]]นี้ จะเห็นว่า ไม่ว่าผู้แนะนำจะมีจิตอย่างไรก็ตาม,​ ผู้รับฟังก็ต้องรักษากุศลจิตในขณะฟังให้ได้ เพราะวิปปฏิสารไม่ได้เกิดจากผู้แนะนำ แต่เป็นธรรมในภายในที่ผู้ฟังปล่อยให้เกิดขึ้นในตนเอง. ไม่งั้น เกิดผู้แนะนำเป็นพระอริยะเจ้า แล้วผู้ฟังคุมจิตไม่ได้ เกิดวิปปฏิสารพ่นวาจาเถียงกลับ เพราะยึดมั่นถือมั่นตรงกันข้ามกับพระอริยเจ้า ผู้ฟังก็ได้อริยุปวาทะเป็นอานิสงส์ ขุดหลุมฝังตนเอง ดุจขุยไผ่ทำร้ายไผ่.
 +
 +
 +
 +
 ==สมถะ== ==สมถะ==
 ==วิปัสสนา== ==วิปัสสนา==
 +===ทำไมวิปัสสนาเป็นได้เพียงขณิกสมาธิ?​===
 +
 +1. อัตถปฏิสัมภิทา ต้องแทงตลอดว่า "​วิปัสสนาสูงสุด คือ [[sutta>​สิขาปฺปตฺตา(th.r.151.276)]] (วิปัสสนาที่ถึงขั้นสูงสุดแล้ว พัฒนายังไงก็ไม่เกินไปกว่านี้,​ ภังคญาณเป็นต้นไปจนถึงสัจจานุโลมิกญาณ) เท่านั้น"​ ซึ่งตั้งแต่ภังคญาณเป็นต้นไปก็เป็นการทำพลววิปัสสนาสมาธิ คือการทำสมาธิโดยใช้วิปัสสนากรรมฐาน อันมีขันธ์เป็นปรมัตถ์อารมณ์ มีไตรลักษณ์เป็นนิมิตบัญญัต จิตต้องรู้สลับกัน จึงเป็นขณิกสมาธิ (ดู [[sutta>​วิปสฺสนาสมาธิ(th.r.84.172.1.0)]],​ สนธิของ ขุ.ปฏิ.อุทฺเทโส [[sutta>​อุทยพฺพยานุปสฺสเน ญาณํ,​วิปสฺสเน ญาณํ(th.r.45.1)]],​ และ [[sutta>​วิปสฺสนาสมาธิ(th.r.104.117)]]), ​
 +
 +ทั้งอนุสัยกิเลสที่พลววิปัสสนาจะต้องละ ก็ไม่สามารถเกิดในระหว่างพลววิปัสสนาได้ด้วย คือ เมื่ออนุสัยเกิดเป็นปริยุฏฐาน วิปัสสนาก็ตกไปไม่มีพลัง ไม่เป็นมัคคภาวนา เริ่มใหม่ไม่ใช่สิขาปปัตตะ เป็นแค่จิตที่ไม่ได้ฝึกละนิวรณ์ คือ ไม่มีแม้กระทั่งอธิจิตตสิกขานั่นเอง (ดูสนธิอนุสนธิของของวิสุทธิ. อุทยัพพยญาณกถา,​ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธินิทเทส,​ และภังคญาณกถา คือ บทก่อนและหลังของ[[sutta>​สิขาปฺปตฺตา(th.r.151.276)]] เป็นต้น จึงจะเข้าใจ),​
 +
 +และพลววิปัสสนาเอง ไม่สามารถมีนิพพานเป็นอารมณ์ได้ มีได้แค่[[sutta>​วิปสฺสนา(th.r.107.388)|ไตรลักษณ์บัญญัต]] ​ จึงไม่สามารถยังอุปจารสมาธิให้เกิดได้ ต้องรอมัคควิถีอันใกล้ต่ออัปปนาฌานจริงๆ เท่านั้น,​ ฉะนั้นจึงเป็นได้แค่ขณิกสมาธิเท่านั้น.
 +
 +จะเห็นได้ว่า เมื่อ[[sutta>​จริยานานตฺตญาณ(th.r.45.77.0.4)]] แยกอัญญาณจริยาแล้วก็ไม่พบปริยุฏฐานกิเลสให้ละไว้ข่มไว้ แบบตอนอุปจาระของสมถกัมมัฏฐาน เนื่องจากปริยุฏฐานกิเลสได้ถูกอธิจิตตสิกขาข่มไว้ดีแล้ว ด้วยโลกิยฌาน และพลววิปัสสนาสมาธิ,​ เมื่อจริยานานัตตญาณแยกความต่างของญาณจริยา คือ พลววิปัสสนาวิถีแล้ว ก็หาความเป็นอุปจาระไม่ได้ เนื่องจากแม้ทำจบทุกขั้นตอนก็ยังไปได้แค่ขณิกสมาธิ ไม่ถึงมัคคอัปปนา ทั้งโดยอารมณ์ โดยการละ และโดยกำลังของจิตตุปบาท,​ และเมื่อโคจรนานัตตญาณแยกความต่างของพลววิปัสสนาแล้ว ก็หาความเป็นนิมิตอันใกล้ต่ออัปปนาไม่ได้,​
 +
 +โดยองค์ทั้งหมดนี้ อัตถปฏิสัมภิทาก็แทงตลอดสภาวะได้ว่า "​วิปัสสนายากกว่าสมถะ เพราะความละเอียดของพหิธาคือโคจรที่ละเอียด [โคจรนานัตตะ] ระดับขณะนามรูปในภพ 3 [ภูมินานัตตะ],​ และเพราะความละเอียดของกิเลสที่ต้องละเอียดเป็นขณะนามรูปที่ยังไม่เกิด [อปริยุฏฺฐิโต] และกำลังจะไม่เกิดอีกต่อไป [อนุสัย],​ และเพราะความละเอียดของนิมิต คือ ระดับอนิมิต [นิพพาน] ที่ไม่สามารถปรากฎกับตัววิปัสสนาจารจิตเองได้"​ (อันนี้คือสนธิของปัญจกญาณนิทเทส).
 +
 +2. เมื่อรู้เห็นตามเป็นจริงว่า วิปัสสนายากกว่าสมถะ ก็ไม่หลงผิดว่า "​สมถะยากกว่าวิปัสสนา"​ ก็จะสามารถละคลายความยึดมั่นถือมั่นว่า "​ไม่มีผู้ได้ฌาน ไม่มีพระอริยเจ้า ไม่มีฉฬภิญโญ ไม่มีปฏิสัมภิทัปปัตโต"​ ที่กลุ้มรุมอยู่เพราะยึดมั่นถือมั่นอรรถกถาพระวินัย ที่จิตของปุถุชนอ่านมาผิดเพี้ยนไป จากนามรูปที่เกิดดับได้จริง [และบางทีก็อาจจะเพราะความไม่รู้ของพระเสกขะผู้ทำอริยุปวาทะและเจโตขีละ (อันนี้ผมว่ายาก แต่โดยหลักฐานแล้วกรณีนี้ก็มีอยู่อย่างน้อย 2 ที่)] (ดู[[https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/​edit#​|วินิจฉัยเรื่องอายุพระศาสนาที่นี่]]).
 +
 +3. ต่อแต่นั้น ธัมมปฏิสัมภิทา จึงจะแทงตลอดบาลีพร้อมทั้งอรรถกถาทั้งหมด ได้ตรงตามสนธิอนุสนธิจริงๆ จึงจะเห็นว่า มีปาฐะตกหล่นไปจากจิตของผู้อ่านมากมายเวลาใช้ปัญจทวารอันทุรพลรับเอาปริตธรรมอันกระจัดกระจายที่บัญญัติเรียกกันว่าพระไตรปิฎก อรรถกถา กระจายมากระทบตาบ้าง กระทบหูบ้าง เช่น ใน[[sutta>​เทสนาหารวิภงฺโค(th.r.46.5.0.5)]]ว่า "​ตณฺหาจริโต มนฺโท สตินฺทฺริเยน ทุกฺขาย ปฏิปทาย ทนฺธาภิญฺญาย นิยฺยาติ สติปฏฺฐาเนหิ นิสฺสเยหิฯ ตณฺหาจริโต อุทตฺโต สมาธินฺทฺริเยน ทุกฺขาย ปฏิปทาย ขิปฺปาภิญฺญาย นิยฺยาติ ฌาเนหิ นิสฺสเยหิฯ"​ จิตของผู้ไม่ทรงจำพระสูตรบาลีจะคิดบทว่า "​สติปฏฺฐาเนหิ"​ ตกหล่นผิดเพี้ยนไปเหลือแค่ "​มหาสติปฏฺฐานสุตฺเตหิ"​ ทั้งที่จริงๆ โดยข้อความมาในส่วนของสีหวิกกีฬิตนัยของวิภังค์จึงต้องมีลำดับสภาวะครบถ้วนตลอดสายตามหลักการบรรลือของราชสีห์ ดังนั้น "​สติปฏฺฐาเนหิ"​ ต้องเป็น "​สุภสุตฺเตหิ กายคตาสติสุตฺเตหิ มหาสติปฏฺฐานสุตฺเตหิ จ" เป็นต้น คือ ต้องรวบเอาสูตรที่แสดงลำดับมาครบตั้งแต่ต้นจนจบจึงจะได้ความว่า '​โดยลำดับสภาวะแล้ว คนที่กิเลสมากสุด ทั้งยังไม่มีธัมมสภาวะปฏิเวธะ จำเป็นต้องทำตาม[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]ครบทุกลำดับ ไล่ไปตั้งแต่อธิศีลทุกอย่างเพื่อให้ได้อินทริยสังวรในทุกอิริยาบถอันเป็นอธิจิตตสิกขา จนกว่าจะปิดทวาร 6 สมบูรณ์เแ็นอุปจาระหรือเป็น ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ เป็นต้น ซึ่งอธิจิตตสิกขาใน[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]นั้น ก็ขยายออกมาเป็น[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]]นั่นเอง ตามหลักสีหวิกกีฬิตนัยยังไม่ใช่มหาสติปัฏฐานสูตรก่อน'​. ​
 +
 +เมื่อผู้อ่าน ชอบอ่าน ไม่ท่องจำพระบาลี มีอาการกุศลจิตอ่อนกำลัง (ไม่เป็นมหา หรือเป็นมหาแต่ไม่ถึงมหัค) เขาจึงไม่สามารถแทงตลอดทั้งสภาวะด้วยอัตถปฏิสัมภิทา ไม่สามารถแทงตลอดทั้งบาลีด้วยอำนาจธัมมปฏิสัมภิทาตามนัยตัวอย่างที่ยกมาเล็กน้อยในเบื้องต้น ถ้าเขาเป็นปุถุชนทิฏฐิคตสัมปยุตตโลภะมูลจิตตุปบาทก็จะเกิดยึดมั่นถือมั่นว่า "​สติปฏฺฐาเนหิ ต้องเป็น มหาสติปฏฺฐานสุตฺตํ เท่านั้นจริง ถ้าพูดอย่างอื่น คำนั้นต้องเปล่าประโยชน์"​ เป็นต้น เป็นอันครบองค์ 2 ของมิจฉาทิฏฐิ เมื่อกล่าวคำใดๆ ในเรื่องนี้ออกไป เขาจะต้องมีตัณหาคาหะ มานะคาหะ ทิฏฐิคาหะเป็นปริยุฏฐานสลับกับนิวรณปริยุฏฐานแน่นอน แม้ขณะนั้นจะมีเมตตากุศลเกิดพูดอนุเคราะห์คนอื่นก็ตาม ก็จะเกิดสลับด้วยมิจฉาทิฏฐิเหล่านี้เป็นปกติ เพราะความที่ละสักกายทิฏฐิที่คิดลวกๆ มโนจินตนาการไปเองรวมๆเป็นก้อนเป็นสาย เป็นปกติของปุถุชน,​ แต่ถ้าเป็นพระอริยเจ้าผู้ทำอริยุปวาทะแม้ยึดมั่นถือมั่นอยู่ แต่จะไม่มีสักกายะทิฏฐิเห็นเป็นก้อน ไม่มีอุปาทาน 3 ยึดไว้ อย่างนี้ไม่ครบองค์ของมิจฉาทิฏฐิ,​ แต่ถ้าเป็นพระอรหันต์ ผู้ไม่ได้สนใจในเรื่องเหล่านี้ เรื่องเหล่านี้ก็เป็นเท่าที่เป็นธาตุที่กระทบธาตุ ไม่ยึดมั่นถือมั่น ไม่เอียง ไม่ยุบ ไม่พอง ไม่สะดุ้งอะไรๆ. โดยประการดังกล่าว การอ่านพระไตรปิฎกเอาลวกๆ เป็นก้อนๆ จึงทำให้ปาฐะตกหล่น และทำให้โลภะทิฏฐิคตสัมปยุตของปุถุชนพอกพูดเป็นหางหมูเฝ้าวัฏฏะต่อไปไม่สิ้นสุด.
 +
 +4. โดยประสบการณ์ของผู้เขียนที่เริ่มมาจากการอ่านพระไตรปิฎก เมื่อรู้ตามเป็นจริงดังกล่าวข้างต้น ก็ต้องคอยตามล้างตามเช็ดชำระโคจร วัตถุ จริยา เหล่านั้นย้อนหลังอย่างมหาศาล ทำให้ข้าพเจ้าพบเจอการตกหล่นของอัตถะธัมมะแบบเดียวกันนี้จำนวนมากจากผู้ที่ไม่ได้ท่องจำพระสูตรบาลีในสำนักของผู้ได้ฌานที่ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีอรรถกถาบาลี.
 +
 +5. เมื่อเข้าใจทั้ง 4 ข้อข้างต้นทั้งโดยอัตถะและธัมมะ แล้วเข้าฌาน ออกจากฌานท่องจำเนตติปกรณ์บาลี ปฏิสัมภิทามรรคบาลี วิสุทธิมรรคบาลีซ้ำๆ จะเห็นตามเป็นจริงว่า
 +
 +เหตุที่ [[sutta>​เทสนาหารวิภงฺโค(th.r.46.5.0.5)]]ว่า "​ตณฺหาจริโต มนฺโท สตินฺทฺริเยน ทุกฺขาย ปฏิปทาย ทนฺธาภิญฺญาย นิยฺยาติ สติปฏฺฐาเนหิ นิสฺสเยหิฯ"​ เพราะ บุคคลผู้เป็น "​ตัณหาจริตาย ทนฺธาภิญฺญาย"​ ยังมีตัณหายึดมั่นในรูปกายอยู่มาก และ "​ตัณหาจริตาย ขิปฺปาภิญฺญาย"​ ยังมีตัณหายึดมั่นถือมั่นในสุขทุกข์อุเบกขาอยู่มาก ก็มีนิวรณ์เกิดมาก ไม่มีอาโลกสัญญาทำลายถีนมิทธะนิวรณ์ เมื่อไม่มีอาโลกสัญญาก็ไม่มีความสามารถระดับขิปฺปาภิญฺโญได้ เพราะอภิญฺญามาจาก อภิสทฺโท ลกฺขณตฺเถ,​ ญา ญาตฏฺเฐ หมายความว่า การแทงตลอดชำนาญในสภาคะฆฏนา ซึ่งคนที่จะแทงตลอดสภาคฆฏนาได้ จะต้องมีองค์ประกอบ คือ 1. พลังบุญในอดีต 2. พลังบุญในอดีตนั้นถึงพร้อมสุกงอมเพราะตัวพลังบุญในอดีตช่วยให้ในปัจจุบันมีปฏิรูปเทสวาโส กัลลยาณมิตตา มาช่วยบ่มเพาะอัตตสัมมาปณิธิในปัจจุบันให้สุกงอม ซึ่งอัตตสัมมาปณิธินี้ องค์ธรรมคือ มหากุศลและมหัคคตกุศล ซึ่งเป็นกุศลปักข์เดียวกันกับพลังบุญในอดีตนั่นเอง [พูดง่ายๆ ถ้ากุศลทั้งอดีตและปัจจุบันไม่มีกำลัง คนที่กุศลจิตมีกำลังเขาก็ไม่อยากคุยด้วย และตัวเองก็จะแยกแยะไม่ออกว่าใครมีบุญใครไม่มีบุญ อยู่ตรงไหนได้บุญ อยู่ตรงไหนได้บาป ทำจิตอย่างไรจะพัฒนาไปเป็นมหัคคตะจิต เป็นโลกุตตรจิตได้]. การจะเห็นอย่างนี้ ต้องอาศัยความเป็นอัจฉริยะ (ในภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษว่า genius ซึ่งก็คือ ขิปฺปาภิญฺญาบุคคล นั่นเอง) เท่านั้น ในทางโลกคนกลุ่ม genius คือ พวกที่ได้ photographic memory ซึ่งก็คือ อาโลกสัญญาและกัมมัฏฐานนิมิตบัญญัตินั่นเอง,​ ดังนั้นในพระบาลี[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] จึงแสดงการละปริตตารมณ์ คือ นิมิตและอนุพยัญชนะ ไว้ในอินทริยสังวรอันเป็นมหากุศล แล้วแสดงการละนิมิตและอนุพยัญชนะนั้นไว้ด้วยอาโลกสัญญาอันเป็นเบื้องต้นของการทำมหากุศลนั้นให้เป็นมหัคคตกุศลที่มีปฏิภาคนิมิตเป็นอารมณ์แทนที่เสีย จากนั้นจึงทรงแสดง "​ปริโยทาเต"​ ศัพท์ ไว้ในท่ามกลาง คือ ในจตุตถฌาน และทรงแสดงอธิปญฺญาสิกฺขาว่า "​ปริโยทาเต ... จิตฺตํ อภินีหรติ อภินินฺนาเมติ ... อิทมฺปิสฺส โหติ ปญฺญายฯ"​ ไว้ในที่สุดคือวิชชา 8 กล่าว คือ อภิญญาขั้นสูงสุดนั่นเอง. ทั้งหมดนี้ มีลำดับของอารมณ์และจิตไว้ใน [[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]]และ[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]อีกทีหนึ่ง.
 +
 +ฉะนั้น เมื่อเข้าใจสภาวะอย่างนั้นแล้ว จะพบว่าในวิสุทธิมรรคที่ท่องไว้แสดงไว้ว่า "​[[sutta>​จิตฺตวิสุทฺธิ(th.r.151.222)]] นาม สอุปจารา อฏฺฐ สมาปตฺติโย"​ ไม่มีคำว่า "​ขณิกสมาธิ"​ แต่ก็จะพบว่า ในฏีกาวิสุทธิมรรคแสดงว่า "​สมถยานิกสฺส หิ อุปจารปฺปนาปฺปเภทํ สมาธิํ อิตรสฺส [[sutta>​ขณิกสมาธิํ(th.r.152.15)]],​ อุภเยสมฺปิ วิโมกฺขมุขตฺตยํ วินา น กทาจิปิ โลกุตฺตราธิคโม สมฺภวติฯ"​.
 +
 +ซึ่งทั้ง 2 นัยก็เป็นไปตามลำดับสีหวิกกีฬิตนัยของเนตติปกรณ์ที่ว่า ตัณหาจริตทำฌานให้ได้ก่อน เพื่อให้ได้ปริโยทาปนํ เมื่อกลายเป็นทิฏฐิจริต มีปริโยทาเต ทั้งโดยปริโยทาปนะ คือ จิตที่นุ่มนวล และโดยอารมณ์ของปริโยทาปนจิตคือปฏิภาคนิมิตแล้ว จากนั้นตาปัญญาคืออลมริยญาณทัสสนะจักขุ คือ วิชชา 8 จึงจะเกิดได้. หมายความว่า ถ้าเกิดมาเป็นตัณหาจริตก็ต้องให้ได้อุปจารอัปปนาสมาธิเพื่อมีจิตตวิสุทธิมาเห็นปฏิจจสมุปบาทเป็นขณะนามรูป,​ แต่ถ้าเกิดมาเป็นทิฏฐิจริต คือ คนที่ตัณหาเกิดจาก เกิดอย่างมากก็คาหะ 3 อย่างนี้เป็นวิปัสสนายานิก ไม่ต้องทำอุปจาระและอัปปนาก็ได้. โดยประการอย่างนี้ ทั้งวิสุทธิมรรคอรรถกถาและฏีกาก็เป็นสภาคฆฏนากัน ไม่ได้ขัดแย้งกันเลย.
 +
 +ดังนั้นจึงสรุปว่า มีบุคคลที่นิวรณ์เกิดง่ายมาก (ตัณหาจริต) กับ นิวรณ์เกิดยากมากมีแต่คาหะเกิด (ทิฏฐิจริต) ซึ่งก็เหมือนได้อุปจารสมาธินั่นเอง [เช่น พระมหากัสสปะและพระภัททกาปิลานีเถรีก่อนจะบรรลุ] บุคคล 2 นี้ เวลาทรงแสดงเทสนาคนตัณหาจริตทรงให้ทำสมถะก่อน เพื่อให้จากคนที่นิวรณ์เกิดบ่อยก็ให้เกิดยาก กลายเป็นคนฉลาดเสียก่อน จากนั้น จึงจะสอนวิปัสสนาแล้วไม่ฟุ้งซ่านเห้นนามรูปที่ละเอียดเป็นปริตตารมณ์ได้โดยไม่ซัดส่ายไปด้วยอำนาจนิวรณ์,​ ส่วนคนที่เป็นทิฏฐิจริต ก็ทำวิปัสสนาเลยได้.
 +
 +แต่ถ้าผู้แสดงธรรมชำนาญขึ้นไปอีก จะสามารถใช้วิชชา 8 ตรวจอัธยาศัยของผู้ฟังแล้ว ใช้พระไตรปิฎกบาลีที่ร่ำเรียนมา เลือกถ้อยคำที่เหมาะสมมาจัดลำดับใหม่ให้เหมาะกับผู้ฟังด้วยติปุกฺขลนัย อย่างนี้เราจะเห็นการเปลี่ยนลำดับของเทศนาได้.
 +
 +6. โดยการแทงตลอดข้างต้น ก็สามารถแทงตลอดตำราอื่นๆ ไปอีกนับไม่ถ้วนนัยยะ เช่น [[https://​docs.google.com/​document/​d/​1SgDMW-Wn1L_y4P-hjfrfeKg2xrOyrXY4rMgROkUJNkk/​edit#​|อรรถกถาอายุพระศาสนาเกินกว่า 4 ตำรา]] ที่เคยทำบทว่า ​ เอเตเนว อุปาเยน ใน อ.องฺ.เอกก. ตกหล่นไป ก็จะเริ่มเห็นได้ตรงกับลำดับสภาวะ,​ หรือ ในการสนธิของบทว่า "​เอตฺตาวตา อานาปานํ ฯลฯ สจฺจปริคฺคโหติ เอกวีสติ กมฺมฏฺฐานานิ วุตฺตานิฯ เตสุ อานาปานํ ทฺวตฺติํสากาโร นวสิวถิกาติ เอกาทส อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ โหนฺติฯ ทีฆภาณกมหาสีวตฺเถโร ปน ‘‘นวสิวถิกา อาทีนวานุปสฺสนาวเสน วุตฺตา’’ติ อาหฯ ตสฺมา ตสฺส มเตน ทฺเวเยว อปฺปนากมฺมฏฺฐานานิ,​ [[sutta>​เสสานิ อุปจารกมฺมฏฺฐานานิ(th.r.70.305)]]ฯ"​ ก็จะเข้าใจสภาวะของทั้ง 2 มติว่าไม่ขัดแย้งกัน เป็นสภาคฆฏนาของกันและกัน (ท่านพระพุทธโฆสาจารย์ยกมาไว้เพราะเห็นด้วยกับทั้ง 2 มติที่เป็นสภาคฆฏนากันได้ จึงไม่ได้แสดงคัดค้านไว้) ซึ่งสามารถใช้ละคลายเจโตขีละคือความระแวงสงสัยในพระมหาอัฏฐกถาหรือมหาสิวะเถระได้อีกทอดหนึ่งด้วย โดยการกำหนดจิตของผู้อ่านเองว่า "​เราไม่มีอธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ทั้งยังไม่ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีอีกด้วย"​ อย่างนี้แทน จิตก็เป็นญาณสัมปยุตได้แล้ว [[#​วิปปฏิสาร]]ก็ไม่เกิด เป็นไปเพื่อภาวนา,​ และยังนำไปเชื่อมโยงกับเนตติ. เทสนาหาระวิภังค์ สีหวิกกีฬิตนัย,​ ที.สามัญญผลสูตร,​ ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] (และหลายสูตรใน ที.สี.),​ ม.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]] ซึ่งอรรถกถาของสูตรนี้ไปอยู่ใน อ.ทีฆนิกาย อ.มูลปัณณาสก์ และวิสุทธิมรรค ทำให้เป็นเหมือนกับว่า มีอรรถกถาสั้น,​ เนตติใน [[https://​84000.org/​tipitaka/​atthapali/​read_th.php?​B=7&​A=6135&​h=สมถยานิก|อ. อุทฺเทสแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร]],​ วิสุทฺธิ. [[sutta>​จิตฺตวิสุทฺธิ นาม สอุปจารา อฏฺฐ สมาปตฺติโย(th.r.151.222.0.4)]] และอรรถกถาทั้งปวงโดยคำเดียวกันนี้ เป็นต้น โดยประการอย่างนี้ ก็ถึงความแตกฉานในพระไตรปิฎกปาฬิ อรรถกถาปาฬิ ได้โดยเพียงแค่ "​เข้าฌาน ออกจากฌานมาท่องทบทวนปาฬิ ในสำนักของผู้ทรงจำพระสูตรปาฬิ"​ ไม่เรียนพระไตรปิฎกด้วยความลำบากยากแค้นอีกต่อไป.
 +
 +===คิดนึกเป็นวิปัสสนาหรือไม่===
  
 +* วิถีจิตรู้บัญญัติและปรมัตถ์ที่เกิดสลับกันจนกว่าจะถึงอุปจารสมาธิ
 +* ปัญญาแทงตลอดสภาวะเสมอ ไม่ว่าจิตจะรู้บัญญัติหรือปรมัตถ์ ด้วยบทว่า [[sutta>​ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา ปญฺญา(th.r.151.68)]]
 +* ไม่ว่าจะเอากรชกาย หรือ ใบไม้ มาทำวิปัสสนา ก็ไม่ได้เอาบัญญัติมาทำวิปัสสนา เพราะท่านแสดงลำดับไว้ว่า [[sutta>​สตฺโต วา ปุคฺคโล วา นตฺถิ(th.r.68.315)]]
 +* ความสับสนเรื่องภาวนา
 +* ปุถุชนออกจากกามคุณ 5 ด้วยบัญญัติที่ไม่เนื่องด้วยกามเท่านั้น ด้วยบทว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี(th.r.6.66.0.2)]] และ [[sutta>​วิวิจฺเจว กาเมหิ(th.r.6.66.0.2)]]
 +* กามและอกุศลระงับด้วยบัญญัติ เป็นสมถะ ด้วยบทว่า [[sutta>​น นิมิตฺตคฺคาหี(th.r.6.66.0.2)]] และ [[sutta>​วิวิจฺเจว กาเมหิ(th.r.6.66.0.2)]] , และระงับด้วยปรมัตถ์ เป็นวิปัสสนา ด้วยบทว่า [ [[sutta>​สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี(th.r.7.232)]] ]
 +* ความสับสนเรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7 
 +* ความไม่ท่องจำบาลี เรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7 
 +* สภาวธรรม เรื่องกลาป สงฺคห ป. 6 กับ ป. 7 
 =วิธีทำความเข้าใจสายพะอ็อคตอยะ= =วิธีทำความเข้าใจสายพะอ็อคตอยะ=
  
บรรทัด 125: บรรทัด 196:
 However the ordinaries normally often decide right as wrong and wrong as right because of clinging on view (ditthi-upadana),​ such as thinking about 'what I am answer must be right, others'​ must be wrong',​ etc. This always happen because of no virtues/​moral (sila), no 8 jhana (samadhi), and no 8 knowledges(8 vijja) according to DN1 BrahmajalaSutta,​ DN 2 SamannaphalaSutta,​ DN 10 SubhaSutta, and DN 15 MahanidanaSutta. However the ordinaries normally often decide right as wrong and wrong as right because of clinging on view (ditthi-upadana),​ such as thinking about 'what I am answer must be right, others'​ must be wrong',​ etc. This always happen because of no virtues/​moral (sila), no 8 jhana (samadhi), and no 8 knowledges(8 vijja) according to DN1 BrahmajalaSutta,​ DN 2 SamannaphalaSutta,​ DN 10 SubhaSutta, and DN 15 MahanidanaSutta.
  
-อย่างไรก็ตาม,​ ปุถุชนปกติมักจะตัดสินถูกเป็นผิด ตัดสินผิดเป็นถูก เพราะยังมีทิฏฐุปาทาน ศีลัพพตุปาทาน อัตตวาทุปาทานอยู่ เช่น ปุถุชนชอบคิด (โดยไม่รู้ตัวว่า) ว่า ​ "​ฉันคนเดียวพูดถูกเท่านั้น คนอื่นหน่ะพูดผิดทั้งนั้นแหละ"​ เป็นต้น ซึ่งไม่ตรงตามสภาวะจริงที่เกิดขึ้นมากมายมหาศาล เพราะเหมารวมสิ่งที่ต่างกันยิบย่อบให้เป็นเหมือนกันหมดว่า "​ทั้งหมดนี่ผิด ทั้งหมดนี่ถูก"​. สิ่งเหล่านี้ เกิดขึ้นในปุถุชนตลอดเวลา เพราะเขาไม่มี ศีล ไม่มีสมาบัติ 8 ไม่มีวิชชา 8 ตามที่ท่านอธิบายไว้ใน ที.พรหมชาลสูตร,​ ที.สามัญญผลสูตร,​ ที.สุภสูตร,​ ที. มหานิทานสูตร,​ ม.กายคตาสติสูตร,​ และ ที. มหาสติปัฏฐานสูตร.+อย่างไรก็ตาม,​ ปุถุชนปกติมักจะตัดสินถูกเป็นผิด ตัดสินผิดเป็นถูก เพราะยังมีทิฏฐุปาทาน ศีลัพพตุปาทาน อัตตวาทุปาทานอยู่ เช่น ปุถุชนชอบคิด (โดยไม่รู้ตัวว่า) ว่า ​ "​ฉันคนเดียวพูดถูกเท่านั้น คนอื่นหน่ะพูดผิดทั้งนั้นแหละ"​ เป็นต้น ซึ่งไม่ตรงตามสภาวะจริงที่เกิดขึ้นมากมายมหาศาล เพราะเหมารวมสิ่งที่ต่างกันยิบย่อบให้เป็นเหมือนกันหมดว่า "​ทั้งหมดนี่ผิด ทั้งหมดนี่ถูก"​. สิ่งเหล่านี้ เกิดขึ้นในปุถุชนตลอดเวลา เพราะเขาไม่มี ศีล ไม่มีสมาบัติ 8 ไม่มีวิชชา 8 ตามที่ท่านอธิบายไว้ใน ที.พรหมชาลสูตร,​ ที.สามัญญผลสูตร,​ ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]], ที. มหานิทานสูตร,​ ม.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]], และ ที. มหาสติปัฏฐานสูตร.
  
 So, according to DN 2 SamannaphalaSutta,​ the Buddha taught about virtues/​moral (sila), 8 jhana (samadhi), and 8 knowledges(8 vijja) to let the listener understood the way to cease the argument of teacher and student at the beginning of DN2 and DN1. So, according to DN 2 SamannaphalaSutta,​ the Buddha taught about virtues/​moral (sila), 8 jhana (samadhi), and 8 knowledges(8 vijja) to let the listener understood the way to cease the argument of teacher and student at the beginning of DN2 and DN1.
  
-ดังนั้น เพื่อที่จะแก้ไขปุถุชนผู้มากไปด้วยความคิดเห็นผิดเพี้ยนจากสิ่งที่เกิดได้จริงเหล่านั้นให้เป็นเขากลายเป็นพระอริยะเจ้าได้,​ พระพุทธเจ้าจึงสอนศีล สมาบัติ 8 และวิชชา 8 ไว้ใน ที.สามัญญผลสูตร เพื่อให้ผู้ฟังสะสางอุปาทาน 4 โดยเฉพาะสักกายทิฏฐิ ซึ่งเป็นเหตุแห่งทิฏฐิ 62 ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ทั้งตอนต้น (ศิษย์กับอาจารย์เถียงกันและลัทธิครูทั้ง 6) และตอนท้ายของที.พรหมชาลสูตร (สูตรตรแรกของสูตรทั้งปวง) และที.สามัญญผลสูตร (สูตรที่ 2 ของสูตรทั้งปวง). ซึ่งท่านพระอานนท์เรียงลำดับไว้ใน ที.สุภสูตรว่า อธิจิตตสิกขา คือ ฌาน 4 และ อธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8.+ดังนั้น เพื่อที่จะแก้ไขปุถุชนผู้มากไปด้วยความคิดเห็นผิดเพี้ยนจากสิ่งที่เกิดได้จริงเหล่านั้นให้เป็นเขากลายเป็นพระอริยะเจ้าได้,​ พระพุทธเจ้าจึงสอนศีล สมาบัติ 8 และวิชชา 8 ไว้ใน ที.สามัญญผลสูตร เพื่อให้ผู้ฟังสะสางอุปาทาน 4 โดยเฉพาะสักกายทิฏฐิ ซึ่งเป็นเหตุแห่งทิฏฐิ 62 ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ทั้งตอนต้น (ศิษย์กับอาจารย์เถียงกันและลัทธิครูทั้ง 6) และตอนท้ายของที.พรหมชาลสูตร (สูตรตรแรกของสูตรทั้งปวง) และที.สามัญญผลสูตร (สูตรที่ 2 ของสูตรทั้งปวง). ซึ่งท่านพระอานนท์เรียงลำดับไว้ใน ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]]ว่า อธิจิตตสิกขา คือ ฌาน 4 และ อธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8.
  
 To access insight the second to the seventh knowledge, the Buddha taught MN 119 Kāyagatāsatisutta to let the practitioner practice AdhiCittaSkkha (concentration meditation),​ and taught DN 2 SamannaphalaSutta to start the second to the seventh knowledge. ​ To access insight the second to the seventh knowledge, the Buddha taught MN 119 Kāyagatāsatisutta to let the practitioner practice AdhiCittaSkkha (concentration meditation),​ and taught DN 2 SamannaphalaSutta to start the second to the seventh knowledge. ​
บรรทัด 136: บรรทัด 207:
  
  
-ฉะนั้นเพื่อที่จะได้วิชชาที่ 2-7 พระพุทธเจ้าจึงตรัสสอน ม.กายคตาสติสูตรไว้ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับฝึกอธิจิตตสิกขา ซึ่งเป็นบาทฐานของ วิชชาทั้ง 8 (ฌาน 4 จะทำให้ได้ปริกัมมโอภาส ซึ่งเป็นพื้นฐานของ photographic memory ที่ทางฝั่งตะวันตกจัดพวกที่มีความสามารถนี้ว่าเป็นพวกอัจฉริยะ เช่น ไอนสไตน์,​ นุน วรนุช เป็นต้น). และเมื่อได้ฌานสมาบัติแล้วจึงทรงสอน ที. สามัญญผลสูตร เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการฝึก วิชชาที่ 2-7. +ฉะนั้นเพื่อที่จะได้วิชชาที่ 2-7 พระพุทธเจ้าจึงตรัสสอน ม.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=14&​siri=19|กายคตาสติสูตร]]ไว้ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับฝึกอธิจิตตสิกขา ซึ่งเป็นบาทฐานของ วิชชาทั้ง 8 (ฌาน 4 จะทำให้ได้ปริกัมมโอภาส ซึ่งเป็นพื้นฐานของ photographic memory ที่ทางฝั่งตะวันตกจัดพวกที่มีความสามารถนี้ว่าเป็นพวกอัจฉริยะ เช่น ไอนสไตน์,​ นุน วรนุช เป็นต้น). และเมื่อได้ฌานสมาบัติแล้วจึงทรงสอน ที. สามัญญผลสูตร เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการฝึก วิชชาที่ 2-7. 
  
-สมดังที่ท่านพระอานนท์แสดงไว้ใน ที.สุภสูตร สรุปความได้ว่า อาโลกสัญญาเป็นบาทฐานของฌานสมาบัติ และว่า อธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ที่มีฌาน 4 เป็นบาทฐาน.+สมดังที่ท่านพระอานนท์แสดงไว้ใน ที.[[https://​84000.org/​tipitaka/​read/​m_siri.php?​B=9&​siri=10|สุภสูตร]] สรุปความได้ว่า อาโลกสัญญาเป็นบาทฐานของฌานสมาบัติ และว่า อธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ที่มีฌาน 4 เป็นบาทฐาน.
  
 To access insight the first knowledge, VipassanaNanaVijja,​ in the smallest particle, smaller than atom, which the ordinary think they are only same one, the Buddha taught DN 22 MahāsatipaṭṭhānaSutta to analysis the molecules of smallest particles (samuha-ghana),​ time-period of smallest particles'​ various moments (santatighana),​ co-working-duties of smallest particles'​ various duties (kicca-ghana),​ same time being-knew-objects of smallest particles'​ various being knew in same time. To access insight the first knowledge, VipassanaNanaVijja,​ in the smallest particle, smaller than atom, which the ordinary think they are only same one, the Buddha taught DN 22 MahāsatipaṭṭhānaSutta to analysis the molecules of smallest particles (samuha-ghana),​ time-period of smallest particles'​ various moments (santatighana),​ co-working-duties of smallest particles'​ various duties (kicca-ghana),​ same time being-knew-objects of smallest particles'​ various being knew in same time.
บรรทัด 151: บรรทัด 222:
 # ปรมัตถธรรมแต่ละขณะๆ ที่เกิดต่อกันอย่างรวดเร็วไม่มีระหว่างคั่นกว่าล้านๆครั้งในเสี้ยววินาที จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​เป็นดวงเดียวกันหมดตลอด 1 วินาที"​ (สันตติฆนะ),​ # ปรมัตถธรรมแต่ละขณะๆ ที่เกิดต่อกันอย่างรวดเร็วไม่มีระหว่างคั่นกว่าล้านๆครั้งในเสี้ยววินาที จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​เป็นดวงเดียวกันหมดตลอด 1 วินาที"​ (สันตติฆนะ),​
 # ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างๆ ทำหน้าที่ไม่เหมือนกันแต่ทำด้วยกันอย่างรวดเร็ว จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​จิตเป็นผู้รู้อย่างเดียว จึงเที่ยงแท้ (ทั้งๆ ที่มีเจตสิกและรูปมากมายร่วมกันทำหน้าที่อื่นๆ ทำให้จิตไม่เสถียรดับไปอย่างรวดเร็วตลอดเวลา แต่ปุถุชนไม่เคยรู้ ไม่เคยเห็นด้วยตาปัญญาเลย)"​ (กิจฆนะ),​ # ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างๆ ทำหน้าที่ไม่เหมือนกันแต่ทำด้วยกันอย่างรวดเร็ว จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​จิตเป็นผู้รู้อย่างเดียว จึงเที่ยงแท้ (ทั้งๆ ที่มีเจตสิกและรูปมากมายร่วมกันทำหน้าที่อื่นๆ ทำให้จิตไม่เสถียรดับไปอย่างรวดเร็วตลอดเวลา แต่ปุถุชนไม่เคยรู้ ไม่เคยเห็นด้วยตาปัญญาเลย)"​ (กิจฆนะ),​
-# นามปรมัตถ์รับรู้ฆนะ 4 ซึ่งมีรายละเอียดยิบย่อยต่างๆกัน เกิดดับรวดเร็วนับไม่ถ้วนดังกล่าวข้างต้น จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​กำลังคิดถึงสิ่งๆเดียว (only one object)"​ (นตติฆนะ)+# นามปรมัตถ์รับรู้ปรมัต์ที่ถูกจินตนาการลวกๆรวมๆว่า "ฆนะ 4" ​ซึ่งมีรายละเอียดยิบย่อยต่างๆกัน เกิดดับรวดเร็วนับไม่ถ้วนดังกล่าวข้างต้น จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า "​กำลังคิดถึงสิ่งๆเดียว (only one object)"​ (อารมมณฆนะ)
  
 ซึ่งตาม ที. มหานิทานสูตรนั้น ปรมัตถธรรมข้างต้น ปรุงแต่งซึ่งกันและกันเป็นปัจจัย 24 และเพราะความละเอียดยิบย่อยมีปัจจัยนับไม่ถ้วนเช่นนี้ สังขตธรรมทั้งปวงจึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ บังคับไม่ได้เลย. ซึ่งตาม ที. มหานิทานสูตรนั้น ปรมัตถธรรมข้างต้น ปรุงแต่งซึ่งกันและกันเป็นปัจจัย 24 และเพราะความละเอียดยิบย่อยมีปัจจัยนับไม่ถ้วนเช่นนี้ สังขตธรรมทั้งปวงจึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ บังคับไม่ได้เลย.