ความแตกต่าง
นี่เป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างเพจสองรุ่น
การแก้ไขก่อนหน้าทั้งสองฝั่ง การแก้ไขก่อนหน้า การแก้ไขถัดไป | การแก้ไขก่อนหน้า การแก้ไขถัดไปการแก้ไขถัดไปทั้งสองฝั่ง | ||
ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2022/02/03 22:06] – dhamma | ผมพัฒนาจากสายปริยัติมาสู่สายปฏิบัติได้อย่างไร [2022/05/19 13:40] – dhamma | ||
---|---|---|---|
บรรทัด 60: | บรรทัด 60: | ||
==รับผิดชอบคำพูดบทสนทนาใดๆ ที่ให้ลูกศิษย์ๆ ต้องจำได้ และสนทนากลับไปต้องตอบได้== | ==รับผิดชอบคำพูดบทสนทนาใดๆ ที่ให้ลูกศิษย์ๆ ต้องจำได้ และสนทนากลับไปต้องตอบได้== | ||
องค์ของผู้โจทก์ องค์ของกัลยาณมิตร องค์ของอุปัชฌาย์ อุคคหปริปุจฺฉาสวนธารณสัมมสนปฏิเวธปัจจเวกขณะ | องค์ของผู้โจทก์ องค์ของกัลยาณมิตร องค์ของอุปัชฌาย์ อุคคหปริปุจฺฉาสวนธารณสัมมสนปฏิเวธปัจจเวกขณะ | ||
+ | ==กาลามสูตรที่ถูกปฏิบัติแล้วได้เมตตาฌานแบบสีมสัมเภทะ== | ||
==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร== | ==สนทนาต้องไม่เกิดวิปปฏิสาร== | ||
[[ดูข้อวิปปฏิสาร]] | [[ดูข้อวิปปฏิสาร]] | ||
บรรทัด 104: | บรรทัด 105: | ||
==สมถะ== | ==สมถะ== | ||
==วิปัสสนา== | ==วิปัสสนา== | ||
+ | |||
+ | =วิธีทำความเข้าใจสายพะอ็อคตอยะ= | ||
+ | |||
+ | All I wrote below are hacked method for a person who doubt in ven. Pa-Auk' | ||
+ | |||
+ | สิ่งที่จะเขียนต่อไปนี้เป็นเพียงวิธีอ้อมๆ สำหรับแก้เจโตขีละกิเลสที่ฉุดจิตไม่ให้พัฒนาของคนที่ลังเลสงสัยในคำสอนพะอ็อคตอยะ ผู้ซึ่งชำนาญกรรมฐานทุกกองและทรงจำพระไตรปิฎกบาลีอรรถกถาบาลีถึง 6 รอบ เพื่อให้ผู้ที่ปรามาสท่านไว้มีทางกลับมาปฏิบัติตามท่านได้, | ||
+ | |||
+ | Every sutta below must be memorized every character in Pali form with deep understood follow Netti cannon rule such as PubbaparaSandhi (context' | ||
+ | |||
+ | Let's go... | ||
+ | |||
+ | ผู้ที่จะทำความเข้าใจพะอ็อคตอยะ จะต้องทรงจำพระสูตรและอรรถกถาที่อ้างอิงถึงทั้งหมดเป็นภาษาบาลีที่เชื่อมโยงตามหลักเนตติปกรณ์ทุกๆอักขระเท่านั้น เช่น หลัก ปุพพาปรสนธิ เป้นต้น และจะต้องเคยทำกรรมฐานทุกกอง ทั้ง 40 กอง ในพระไตรปิฎกมาแล้วอย่างชำนาญ. ที่ต้องทำทุกอย่างไม่มีข้องดเว้นให้ เพราะผู้ที่สงสัยพะอ็อคตอยะกำลังสงสัยในผู้ทรงจำพระไตรปิฎกบาลีพร้อมทั้งอรรถกถาบาลี ฉะนั้น คุณต้องทำให้ได้แบบท่านทุกๆ อย่าง จึงจะสามารถเข้าใจวิธีคิดของท่านได้โดยที่มีโอกาสผิดพลาดน้อยที่สุด (ถ้าผิดพลาดปุ๊ป ก็มีโอกาสเป็นอริยุปวาทะ เป็นเจโตขีละ ได้ทันที). | ||
+ | |||
+ | All autocracy, democracy, and righteousnessy could be right or wrong depending on the doer's mind moments, wholesome is right, unwholesome is wrong. | ||
+ | |||
+ | อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย ธัมมาธิปไตย สามารถจะผิดก็ได้ จะถูกก็ได้ ขึ้นอยู่กับขณะจิตล้านๆ ครั้งของผู้ที่ทำว่า เป็นกุศลทั้งหมดหรือไม่ หรือมีอกุศลเกิดแทรกโดยไม่รู้ตัว? | ||
+ | |||
+ | However the ordinaries normally often decide right as wrong and wrong as right because of clinging on view (ditthi-upadana), | ||
+ | |||
+ | อย่างไรก็ตาม, | ||
+ | |||
+ | So, according to DN 2 SamannaphalaSutta, | ||
+ | |||
+ | ดังนั้น เพื่อที่จะแก้ไขปุถุชนผู้มากไปด้วยความคิดเห็นผิดเพี้ยนจากสิ่งที่เกิดได้จริงเหล่านั้นให้เป็นเขากลายเป็นพระอริยะเจ้าได้, | ||
+ | |||
+ | To access insight the second to the seventh knowledge, the Buddha taught MN 119 Kāyagatāsatisutta to let the practitioner practice AdhiCittaSkkha (concentration meditation), | ||
+ | |||
+ | According to DN 10 SubhaSutta, every 8 vijja is AdhiPannaSikkha base on 4th Mastery Jhana. | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ฉะนั้นเพื่อที่จะได้วิชชาที่ 2-7 พระพุทธเจ้าจึงตรัสสอน ม.กายคตาสติสูตรไว้ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับฝึกอธิจิตตสิกขา ซึ่งเป็นบาทฐานของ วิชชาทั้ง 8 (ฌาน 4 จะทำให้ได้ปริกัมมโอภาส ซึ่งเป็นพื้นฐานของ photographic memory ที่ทางฝั่งตะวันตกจัดพวกที่มีความสามารถนี้ว่าเป็นพวกอัจฉริยะ เช่น ไอนสไตน์, | ||
+ | |||
+ | สมดังที่ท่านพระอานนท์แสดงไว้ใน ที.สุภสูตร สรุปความได้ว่า อาโลกสัญญาเป็นบาทฐานของฌานสมาบัติ และว่า อธิปัญญาสิกขา คือ วิชชา 8 ที่มีฌาน 4 เป็นบาทฐาน. | ||
+ | |||
+ | To access insight the first knowledge, VipassanaNanaVijja, | ||
+ | |||
+ | According to DN 15 MahanidanaSutta, | ||
+ | |||
+ | DN 15 is the end of DN 1 which I've quoted above. | ||
+ | |||
+ | ต่อจากนั้น เพื่อจะแทงตลอดวิชชาที่ 1 คือ วิปัสสนาญาณวิชชาที่เป็นไปในปรมัตถธรรมที่เล็กละเอียดที่สุด ละเอียดยิ่งกว่าอะตอม ที่ซึ่งปุถุชนมักจะคิดถึงแบบลวกๆ รวมๆ เป็นก้อนว่า " | ||
+ | |||
+ | # ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างๆ มากมายที่เกิดพร้อมกัน จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า " | ||
+ | # ปรมัตถธรรมแต่ละขณะๆ ที่เกิดต่อกันอย่างรวดเร็วไม่มีระหว่างคั่นกว่าล้านๆครั้งในเสี้ยววินาที จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า " | ||
+ | # ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างๆ ทำหน้าที่ไม่เหมือนกันแต่ทำด้วยกันอย่างรวดเร็ว จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า " | ||
+ | # นามปรมัตถ์รับรู้ฆนะ 4 ซึ่งมีรายละเอียดยิบย่อยต่างๆกัน เกิดดับรวดเร็วนับไม่ถ้วนดังกล่าวข้างต้น จนปุถุชนผู้เชื่องช้าไม่ละเอียดยึดมั่นผิดว่า " | ||
+ | |||
+ | ซึ่งตาม ที. มหานิทานสูตรนั้น ปรมัตถธรรมข้างต้น ปรุงแต่งซึ่งกันและกันเป็นปัจจัย 24 และเพราะความละเอียดยิบย่อยมีปัจจัยนับไม่ถ้วนเช่นนี้ สังขตธรรมทั้งปวงจึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ บังคับไม่ได้เลย. | ||
+ | |||
+ | All of what I answered above are described follow the the relativity of entire DN's structure. According to the history record, DN was memorized by Ananda-thera, | ||
+ | |||
+ | สิ่งที่เข้าพเจ้าอธิบายมาข้างต้น ได้อธิบายตามโครงสร้างของสูตรในทีฆนิกาย เพราะตามประวัติศาสตร์แล้ว พระอานนท์ น้องชายของพระพุทธเจ้า ท่านและลูกศิษย์เป็นผู้ที่สงฆ์ 500 ในสังคายนาครั้งที่ 1 มอบให้ทรงจำรักษาทีฆนิกายนี้ ซึ่งท่านเป็นผู้ทรงจำพระไตรปิฎกทุกนิกาย ฉะนั้น การจะใช้พระสูตรที่ท่านรักษาไว้มาเป็นอรรถกถาอธิบายพระไตรปิฎกจึงให้ความชัดเจนที่สุด นอกจากนี้พระอานนท์ยังเป็นพระเถระที่เป้นที่ยอมรับทั้งของฝ่ายเถรวาทและมหายานอีกด้วย. |